Page 137 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 137
�
การศึกษา เรื่อง ความไม่สอดคล้องของแรงงาน : ข้อจากัด
และความท้าทายต่อเศรษฐกิจไทย
หลักการและเหตุผล
�
ั
ประเทศไทยเผชิญกับข้อจากัดทางด้านแรงงาน ท้งในเชิงปริมาณจากการก้าวเข้า
สู่สังคมผู้สูงอาย (Aging Society) ต้งแต่ปี 2548 และมีแนวโน้มท่จะเข้าสู่สังคมผู้สูงอาย ุ
ั
ี
ุ
โดยสมบูรณ์ (Aged Society) ภายในปี 2566 สอดคล้องกับประชากรวัยแรงงานของไทย
ื
ท่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเน่อง ขณะเดียวกัน เม่อพิจารณาในเชิงคุณภาพพบว่าผลิตภาพแรงงาน
ี
ื
ลดลงจากผลกระทบของโควิด-19 และการฟื้นตัวยังเป็นไปอย่างล่าช้า โดยเฉพาะอย่างย่ง
ิ
ี
ี
ภายใต้แนวโน้มความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่เปล่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ความต้องการ
ี
�
ทักษะแรงงานเปล่ยนแปลงไป ขณะท่ผู้สาเร็จการศึกษาในแต่ละปียังไม่สอดคล้องกับความ
ี
ต้องการของตลาดแรงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการ
เป้าหมาย ส่งผลให้ข้อจากัดทางด้านแรงงานท้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพโดยเฉพาะ
ั
�
ี
่
�
ผลิตภาพแรงงานท่อยู่ในระดับตาและปัญหาความไม่สอดคล้องของแรงงานถือเป็นประเด็น
ความท้าทายที่ส�าคัญต่อการยกระดับศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ
วัตถุประสงค์
ื
เพ่อวิเคราะห์สถานการณ์ความไม่สอดคล้องของแรงงาน โดยมุ่งเน้นการศึกษาถึง
ความไม่สอดคล้องของแรงงานในแนวดิ่ง (Vertical Mismatch) อันเป็นผลมาจากแรงงานที่
ใช้ทักษะที่ไม่ตรงกับระดับการศึกษา โดยใช้หลักการก�าหนดระดับทักษะ (Skill Level) และ
โครงสร้างของการจดประเภทอาชพท่กาหนดไว้ในการจดประเภทอาชพตามมาตรฐานสากล
ั
ี
ี
ั
ี
�
(ISCO-2008) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization:
ILO) มาเปรียบเทียบกับระดับทักษะแรงงานท่ได้รับจากการศึกษาในหลักสูตรของสถาบัน
ี
ึ
ึ
การศึกษา ซ่งถูกกาหนดข้นจากแนวคิดระดับการศึกษาตามมาตรฐานการจัดประเภทการศึกษา
�
ื
(ISCED-2011) ขององค์การเพ่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาต ิ
(United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO)
�
�
โดยสานักงานสถิติแห่งชาติได้นามาปรับปรุงเพ่อให้เหมาะสมกับระบบการศึกษาของ
ื
ั
ี
่
�
ั
้
ู
ประเทศไทย และใช้ข้อมลการสารวจภาวะการทางานของประชากรนบตงแต่ในไตรมาสท 3
�
ของปี 2550 ถึงปี 2565 นอกจากนี้ การศึกษานี้ยังวิเคราะห์ถึงความต้องการแรงงานส่วนเกิน
โดยอาศัยข้อมูลสถิติความต้องการแรงงาน จากกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ผลการศึกษา
ี
ึ
ิ
�
ี
1. ในช่วง 15 ปีท่ผ่านมา สัดส่วนแรงงานท่ทางานตรงกับระดับการศึกษาเพ่มมากข้น
(Matched) และมีการท�างานที่สูงกว่าระดับการศึกษา (Undereducation) น้อยลง อย่างไร
ึ
ก็ตาม สัดส่วนแรงงานท่ทางานต�ากว่าระดับการศึกษา (Overeducation) เพ่มข้นอย่างต่อเน่อง
ิ
ื
่
�
ี
สอดคล้องกับแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของระดับการศึกษาของคนไทยในช่วงที่ผ่านมา โดยเฉพาะ
ึ
ิ
ี
อย่างยงในกล่มผ้จบการศกษาระดับปริญญาตรีข้นไป ซ่งเป็นกลุ่มแรงงานหลักท่เข้าสู่ตลาด
่
ึ
ุ
ึ
ู
่
ึ
่
ี
ั
่
�
ุ
ี
�
ั
แรงงานมแนวโนมทจะทางานทตากวาทกษะมากขน โดยแนวโน้มดงกล่าวเกดขนในทกสาขา
่
้
ึ
ิ
้
ี
้
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 135