Page 141 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 141
ผลการศึกษา
ี
�
การศึกษาฯ ได้จัดทาตัวช้วัดดัชนีประสิทธิภาพการผ่านแดนและข้ามแดนของ
ประเทศไทย (Border Performance Index: BPI) ของพื้นที่ภายใต้องค์ประกอบของระบบ
โลจิสติกส์ 4 ด้าน ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐาน กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ และ
�
ั
เจ้าของสินค้า โดยการศึกษาฯ ได้คัดเลือกพ้นท่ศึกษาโดยใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิงลาดับข้น
ี
ื
(Analytical Hierarchy Process: AHP) และได้พื้นที่จ�านวน 9 พื้นที่ ประกอบด้วย เชียงของ
แม่สาย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร แม่สอด อรัญประเทศ สะเดา และปาดังเบซาร์ และ
ด�าเนินการส�ารวจข้อมูลโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ การรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม การสัมภาษณ์
และการประชุมระดมความคิดเห็นในแต่ละพื้นที่ ซึ่งจะได้ข้อมูลตัวชี้วัด BPI ทั้ง 4 ด้านของ
่
ื
ี
ื
แต่ละพ้นที และแต่ละด้านจะแบ่งกลุ่มพ้นท่ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ Higher performer,
ี
้
ั
Consistent performer และ Partial performer ท้งน ตัวช้วัด BPI กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน
�
ี
ในช่วง 0-2 สามารถเปรียบเทียบการพัฒนาในเชิงพ้นท่ในแต่ละด้านและนาไปใช้กาหนดแนวทาง
ื
ี
�
�
ื
ื
การพัฒนาในลักษณะเฉพาะหรือแบ่งปันข้อมูลเพ่อเป็นแนวทางการพัฒนาในพ้นท่อ่น ๆ
ื
ี
้
ั
ี
ื
ิ
่
�
่
ั
ี
(Knowledge Sharing) ระหว่างพนท การจดทาข้อมลตวชวด BPI จะดาเนนการต่อเนอง
�
ั
้
ู
ื
ื
ทุก 2 ปี เพ่อใช้เป็นดัชนีติดตามและประเมินผลประสิทธิภาพการค้าชายแดน รวมท้งการสร้าง
ั
ความตระหนักรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาร่วมกัน เพื่ออ�านวยความสะดวกการผ่านแดน
และข้ามแดนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นต่อไป
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 139