Page 139 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 139
�
ื
การศึกษา เรื่อง แบบจาลองเศรษฐกิจมหภาคเพ่อ
ิ
ี
ประเมินผลของนโยบายท่เป็นมิตรกับส่งแวดล้อม
หลักการและเหตุผล
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ได้จัดทาโครงการร่วมกับ
ิ
�
�
คณะกรรมาธิการกรรมการเศรษฐกิจและสังคมสาหรับเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาต ิ
�
(UNESCAP) และสานักงานผู้ประสานงานแห่งสหประชาชาต (Resident Coordinator Office
�
ิ
in Thailand; RCO Thailand) ภายใต้การสนับสนุนของโครงการ Partnership for Action
�
on Green Economy (PAGE) ในการพัฒนาแบบจาลองเศรษฐกิจมหภาคท่สามารถประเมน
ิ
ี
ผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมจากหลายภาคส่วนทางเศรษฐกิจ ทั้งระยะสั้น
�
และระยะยาวเข้าด้วยกัน โดยพัฒนามาจากแบบจาลองเศรษฐกิจมหภาคระดับภูมิภาคของ
UNESCAP ที่ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ จ�านวน 46 ประเทศ ซึ่งไดพัฒนาขึ้นมาในชวงหลัง
่
้
ื
�
�
การแพร่ระบาดของโควิด-19 เพ่อสนับสนุนการกาหนดมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจสาหรับประเทศ
ั
ในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก รวมถึงเพ่อเสริมสร้างความย่งยืนท้งทางเศรษฐกิจ สังคม และ
ื
ั
ส่งแวดล้อมในทุกมิต ิ
ิ
วัตถุประสงค์
ื
่
�
ั
เพอพฒนาแบบจาลองเศรษฐกจมหภาคของไทย ซงสามารถใช้ในการศกษาเพอ
่
ื
่
ิ
ึ
ึ
ประเมินผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมของนโยบายต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะ
ี
ี
ี
ิ
อย่างย่งในด้านนโยบายท่เก่ยวข้องกับส่งแวดล้อม และการเปล่ยนผ่านเข้าสู่เศรษฐกิจคาร์บอนตา
ิ
�
่
ิ
อาท การใช้กลไกกาหนดราคาคาร์บอน และมาตรการด้านเพ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
�
ิ
เป็นต้น
ผลการศึกษา
จากผลการศึกษาพบว่าการดาเนินนโยบายภาษีคาร์บอนควบคู่ไปกับการยกเลิก
�
เงินอุดหนุนท่เก่ยวข้องกับคาร์บอน จะช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการลดการปล่อย
ี
ี
ก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 30 ภายในปี 2573 และหลีกเลี่ยงการสูญเสียขีดความสามารถในการ
แข่งขันท่เกิดจากโครงการกาหนดราคาคาร์บอนของสหภาพยุโรป ท้งน การดาเนินนโยบาย
ั
ี
้
ี
�
�
ื
ด้านส่งแวดล้อมดังกล่าวโดยไม่มีมาตรการอ่นควบคู่ไปด้วยจะส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจ
ิ
ี
�
ิ
ี
ึ
จริงอย่างมีนัยสาคัญ โดยอัตราเงินเฟ้อมีแนวโน้มท่จะปรับเพ่มสูงข้น ขณะท่เศรษฐกิจม ี
�
แนวโน้มท่จะลดลงในระยะส้น อย่างไรก็ตาม การดาเนินมาตรการดังกล่าวจะช่วยเพ่ม
ิ
ี
ั
รายได้ให้กับภาครัฐ จากภาษีที่เพิ่มขึ้น รวมถึงลดค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนซึ่งจะท�าให้รัฐบาล
่
ิ
่
ื
ิ
ั
ั
้
�
ิ
่
ั
สามารถเพมค่าใช้จ่ายในด้านอน ๆ ดงนน การดาเนนมาตรการด้านสงแวดล้อมของรฐบาล
จึงต้องวางแผนไปถึงการนาเอารายได้ท่เพ่มข้นของรัฐบาลมาดาเนินมาตรการเพ่อช่วยลด
ื
ี
�
ิ
ึ
�
ผลกระทบท่จะเกิดข้น โดยแบบจาลองน้มีการประเมินผลผลกระทบท่ได้จากการดาเนิน
�
ี
�
ี
ี
ึ
ี
ึ
ิ
มาตรการจากรายได้ของรัฐท่เพ่มข้นโดยแบ่งออกตามประเภทการใช้จ่าย ประกอบด้วย
(1) การใช้จ่ายเพ่อการคุ้มครองทางสังคม โดยมุ่งเน้นไปท่กลุ่มคนเปราะบางและผู้ท่มีรายได้
ี
ื
ี
น้อย ซึ่งจะเป็นการช่วยลดความเหลื่อมล�้าและความยากจน เนื่องจากคนเหล่านี้ต้องแบกรับ
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 137