Page 110 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 110
108
สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
ุ
้
ิ
2. แนวโนมสัดส่วนต้นทนโลจสติกส์ต่อ GDP ป 2565
ี
สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ในปี 2565
มีแนวโน้มปรับตัวดีข้น จากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
ึ
และกิจกรรมทางเศรษฐกิจและอุปสงค์ในประเทศท ี ่
ื
ขยายตัวอย่างต่อเน่อง ส่งผลให้การบริโภค การลงทุน
�
ี
ภาคเอกชน และการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้าท่สาคัญ
ุ
ขยายตัว โดยคาดว่าสดส่วนต้นทนโลจิสติกส์ของไทย
ั
ปรับลดลงอยู่ที่ร้อยละ 12.9-13.3 ต่อ GDP อย่างไรก็ตาม
ยังคงต้องประเมินปัจจัยเส่ยง โดยเฉพาะการระบาด
ี
ระลอกใหม่ของ COVID-19 สายพันธุ์ใหม่ สถานการณ์
ิ
ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และการเพ่มข้น
ึ
ั
ของอัตราเงินเฟ้อ รวมท้งแนวโน้มการปรับเพ่มข้น
ิ
ึ
ของราคาน�้ามันและค่าระวางเรือ
กล่าวโดยสรุป ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ท่ผ่านมา ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยมีสัดส่วน
ี
ิ
ึ
ี
ต่อ GDP ท่เพ่มข้นจากสถานการณ์ปกติ โดยโครงสร้างต้นทุนการขนส่งสินค้าและต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลังมีขนาด
ั
ใกล้เคียงกันท้งในด้านมูลค่าและสัดส่วน ดังน้นการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในระยะต่อไปควรมุ่งเน้นการยกระดับการบริหารจัดการ
ั
ของผู้ประกอบการเพื่อลดต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ควบคู่กับการพัฒนาและผลักดันการใช้ประโยชน์โครงสร้างพื้นฐาน
ิ
ส่งอานวยความสะดวก และปัจจัยสนับสนุน โดยการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้เพ่อเพ่มประสิทธิภาพการบริหาร
ื
�
�
ิ
ื
ึ
จัดการระบบโลจิสติกส์ ซ่งเป็นแนวทางในการขับเคล่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ตามแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบ
ั
ั
้
้
่
ิ
์
ื
่
ี
้
ี
็
ั
�
โลจสตกสของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 ทมเปาหมาย เพอให “ระบบโลจสตกสเปนกลไกสาคญในการผลกดนใหประเทศไทย
ิ
ิ
์
ิ
เป็นประตูการค้าที่ส�าคัญในอนุภูมิภาคและภูมิภาค”