Page 143 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 143
ี
ื
โครงการพัฒนาแบบจ�าลองเชิงพื้นท่เพ่อคาดการณ์
ผลตอบแทนเศรษฐกิจเชิงกว้างจากการลงทุนโครงสร้าง
พื้นฐาน (Spatial Model Development for Forecasting
Wider Economic Benefits from Infrastructure)
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อพัฒนาแบบจ�าลองด้านคมนาคมและขนส่งระดับประเทศเชิงพื้นที่ (Spatial
ื
National Transport Model) เพ่อใช้ในการประมาณการปริมาณความต้องการเดินทาง
และการขนส่งสินค้า (2) เพื่อพัฒนาแบบจ�าลองที่ใช้ในการคาดการณ์ผลตอบแทนเศรษฐกิจ
เชิงกว้างจากการลงทุนโครงสร้างพ้นฐานด้านคมนาคม (3) เพ่อให้การออกแบบนโยบาย
ื
ื
ี
ี
ท่เก่ยวข้องกับการพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานในระดับพ้นท่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ื
ี
ื
ิ
ื
เกิดประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจ และ (4) เพ่อพัฒนาองค์ความรู้และเพ่มพูนทักษะใน
�
ด้านการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่เก่ยวข้องกับการพัฒนาแบบจาลอง
ี
ี
ื
ด้านคมนาคมและขนส่งระดับประเทศเชิงพ้นท และการประมาณผลตอบแทนเศรษฐกิจ
่
ี
ี
ี
ี
ื
เชิงกว้างจากการลงทุนโครงสร้างพ้นฐานให้กับเจ้าหน้าท่ของ สศช. และหน่วยงานท่เก่ยวข้อง
ผลการศึกษาเบี้องต้น
ที่ปรึกษาอยู่ระหว่างการจัดท�ารายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 1 (progress report)
�
�
โดยได้ดาเนินการศึกษา ทบทวน รวบรวมปัญหาและข้อจากัดของแบบจาลองด้านคมนาคมฯ
�
ของหน่วยงานภาครัฐทั้งที่ใช้งานแล้วและอยู่ระหว่างการพัฒนา ได้แก่ แบบจ�าลองการขนส่ง
ั
ี
และจราจรระดับประเทศ (National Model: NAM) ของหน่วยงานท่เก่ยวข้อง รวมท้ง
ี
้
ิ
่
ี
ิ
ี
ทบทวนทฤษฎและแนวคดทใช้ในการประเมนผลตอบแทนทางเศรษฐกจเชิงกวางของโครงการ
ิ
ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อน�าเสนอแนวคิด หลักการและเปรียบเทียบ
การพัฒนาแบบจาลองเศรษฐกิจเชิงกว้างฯ อาท การวิเคราะห์ผลกระทบจากการลงทุนใน
�
ิ
้
้
ื
้
ิ
�
โครงสรางพนฐานทีมตอเศรษฐกจมหภาคตามแบบจาลองความยดหยนตามโครงสราง Spatial
ี
ื
่
่
ุ
่
Computable General Equilibrium และการพัฒนาพื้นที่ตามแนวคิด Transit Oriented
Development เป็นต้น เพ่อประโยชน์ในการวางแผนและการบริหารจัดการโครงสร้าง
ื
พื้นฐานของประเทศไทยให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 141