Page 68 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 68
การขับเคล่อนด้านการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
ื
ของประเทศ
1 ผลก�รจัดอันดับขีดคว�มส�ม�รถในก�รแข่งขันของประเทศ
ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยสถาบัน IMD ประจ�าปี 2566
ี
ประเทศท่มีอันดับขีดความสามารถในการแข่งขัน 5 อันดับแรก ได้แก่ เดนมาร์ก (คงท่) ไอร์แลนด์
ี
(ดีขึ้น 9 อันดับ) สวิตเซอร์แลนด์ (ลดลง 1 อันดับ) สิงคโปร์ (ลดลง 1 อันดับ) และเนเธอร์แลนด์
�
�
ี
ึ
(ดีข้น 1 อันดับ) ตามลาดับ สาหรับกลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซียนท่จัดอันดับโดย IMD
ี
พบว่าในปี 2566 สิงคโปร์ยังคงเป็นประเทศท่มีอันดับความสามารถในการแข่งขันสูงสุด
่
ในภูมิภาคอาเซียนอยู่ในอันดับท 4 รองลงมา คือ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ ท่อยู่ใน
ี
ี
ี
�
อันดับท 27 30 34 และ 52 ตามลาดับ โดยอินโดนีเซียและมาเลเซียมีอันดับดีข้น 10 และ 5 อันดับ
่
ึ
มาอยู่ที่อันดับที่ 34 และ 27 ตามล�าดับ ในขณะที่ สิงคโปร์และฟิลิปปินส์มีอันดับลดลง 1 และ
4 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 4 และ 52 ตามล�าดับ โดยประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 30 ซึ่งดีขึ้นจาก
อันดับ 33 ในปี 2565 ซ่งอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยยังคงทรงตัวอยู่ใน
ึ
ช่วงระดับกลางโดยสาเหตุหลักเป็นผลมาจากปัจจัยย่อยทุกด้านปรับตัวดีขึ้น ทั้งด้านเศรษฐกิจ
ในประเทศ การค้าระหว่างประเทศ การลงทุนระหว่างประเทศ การจ้างงาน และระดับราคา
มีอันดับดีขึ้น โดยมีรายละเอียดสรุป ดังนี้
58
ผลการจัดอนดบขดความสามารถในการแข่งขันของประเทศจากสถาบัน International
ั
ี
ั
ผลการจัดอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศจากสถาบัน International Institute for Management
Institute for Management Development (IMD) ในช่วง ปี 2561-2566
่
Development (IMD) ในชวง ปี 2561 -2566
2561 2562 2563 2564 2565 2566
10
15
20
25 25 28
30 30 29 33 30
35
40
45 IMD
50
ที่มา IMD
ที่มา IMD
66 | Transitioning Thailand: Coping with the Future
1.1 ปัจจัยหลักด้านสมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) อยู่ในอนดับที่ 16 หรือดีขึ้น
ั
ั
ั
ั
อย่างมากถึง 18 อนดับ ซึ่งเป็นอนดับที่ดีที่สุดในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา เนื่องจากปัจจัยย่อยทุกปัจจัยมีอนดับดีขึ้น โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งปัจจัยย่อยด้านการลงทุนระหว่างประเทศ มีอนดับดีขึ้น 11 อนดับ มาอยู่อนดับที่ 22 และด้านการค้าระหว่าง
ั
ั
ั
ประเทศ มีอนดับดีขึ้น 8 อนดับ มาอยู่อนดับที่ 29 ซึ่งเป็นผลจากการตื่นตัวของนักลงทุนที่เริ่มกลับมาด าเนินกิจกรรมทาง
ั
ั
ั
ั
เศรษฐกจหลงจากการชะลอตัวในช่วงการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรสโคโรนา 2019 และการฟ้นตัวของภาคการคา
่
้
ิ
ั
ื
ระหว่างประเทศโดยเฉพาะภาคส่งออกในปี 2565 ที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5
ั
1.2 ปัจจัยหลักด้านประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) อยู่ในอนดับที่ 24 หรือดีขึ้น 7
ั
ั
อนดับจากอนดับที่ 31 ในปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นผลจากอนดับของปัจจัยย่อยด้านการคลังที่ปรับตัวดีขึ้น 4 อนดับ โดยเฉพาะ
ั
ั
ตัวชี้วัดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายภาครัฐ และตัวชี้วัดด้านการหลีกเลี่ยงภาษีที่มีการปรับตัวดีขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน
ั
ในขณะที่ปัจจัยย่อยด้านกรอบการบริหารสถาบัน และด้านกฎระเบียบทางธุรกิจที่ปรับตัวดีขึ้น 7 อนดับ จากตัวชี้วัดด้าน
การด าเนินนโยบายของธนาคารกลาง และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายแรงงานมีการปรับตัวที่ดีขึ้น
1.3 ปัจจัยหลักด้านประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) อยู่ในอนดับที่ 23 หรือที่ดีขึ้น 7
ั
ั
อันดับจากอันดับที่ 30 ในปีก่อนหน้า เนื่องจากปัจจัยย่อยทุกด้านมีอนดับดีขึ้น ในขณะที่ปัจจัยย่อยด้านการบริหารจัดการ
อยู่ในอันดับคงที่ โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพมีอันดับดีขึ้นถึง 9 อนดับ โดยพบว่าผู้ประกอบการของไทย
ั
ิ
ี
่
ั
่
ทงขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาดยอมมประสทธิภาพตามมาตรฐานสากลเพมข้น ตลอดจนความสามารถในการใช้
ึ
้
ิ
เครื่องมือดิจิทัลและเทคโนโลยีมีการปรับตัวเพมขึ้นถึง 6 อันดับ ปัจจยย่อยดานการเงนมอันดับเพ่มขน 5 อันดับจาก
ิ
ี
ิ
้
้
ึ
ั
ิ่
ตัวชี้วัดด้านการระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ และมูลค่าของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์มีการปรับตัวดีขึ้น และปัจจัยย่อย
ิ
ั
ิ
ู
้
็
ั
ด้านทัศนคติและค่านิยมมีอนดับดีขึ้น 6 อันดับอันเปนผลมาจากทศนคติของผประกอบการต่อการด าเนนธุรกจ
ภายในประเทศปรับตัวดีขึ้น
ั
1.4 ปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) อยู่ในอันดับที่ 43 หรือดีขึ้น 1 อันดับจากอนดับที่
ื้
44 ในปี 2565 โดยปัจจัยย่อยด้านโครงสร้างพนฐานทางเทคโนโลยีมีอนดับดีขึ้นถึง 9 อนดับ และปัจจัยย่อยด้าน
ั
ั
สาธารณูปโภคพื้นฐาน อยู่ในอันดับคงที่ เป็นผลจากการลงทุนด้านโครงสร้างพนฐานของภาครัฐที่ด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
ื้