Page 63 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 63
การส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
ี
ั
ในชวง 5 ปทผานมา (พ.ศ. 2561 - 2565) ภาคเกษตรกรรมมอตราการขยายตวของผลตภณฑมวลรวม
่
ี
่
ี
่
ั
์
ิ
ั
่
�
ี
ค่อนข้างตา คิดเป็นค่าเฉล่ยเพียงร้อยละ 1.3 ต่อปี โดยในปี 2565 สร้างรายได้จากการส่งออกสินค้าเกษตรและ
ั
1
ผลิตภัณฑ์ได้เพียง 1,816,433 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 18.29 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าท้งหมด
ี
อันเน่องมาจากสินค้าเกษตรท่ไทยส่งออกส่วนใหญ่ยังอยู่ในรูปของสินค้าแปรรูปข้นต้น มีมูลค่าเพ่มน้อย
ิ
ื
ั
หรือที่เรียกว่า “ท�ามาก ได้น้อย” ในขณะที่เนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรในปี 2564 มีพื้นที่ถึง 149.75
ื
ั
ล้านไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 46.69 ของเน้อท่ท้งประเทศ อีกท้งภาคเกษตรกรรมไทย ยังต้องเผชิญกับ
2
ี
ั
�
ี
�
้
ี
ิ
�
ข้อจากัดภายในและบริบทการเปล่ยนแปลงภายนอก อาท ข้อจากัดทางด้านท่ดินทากิน แหล่งนา ผลกระทบ
�
ี
ั
จากการเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การแข่งขันจากประเทศคู่แข่งท้งในแง่ต้นทุนและเทคโนโลย และ
ี
้
ึ
ี
�
ข้อตกลงและมาตรการด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศท่มีความเข้มข้นขน ทาให้ภาคเกษตรกรรมไทย
ต้องประสบกับความเส่ยงในการพัฒนาและไม่อาจยกระดับความสามารถในการแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ี
ี
ี
ดังน้น จึงจาเป็นต้องเร่งสร้างความเปล่ยนแปลงเพ่อปรับเปล่ยนภาคเกษตรกรรมของไทยไปสู่รูปแบบ
�
ั
ื
�
ื
“ทาน้อย ได้มาก” และสร้างความย่งยืนให้เกิดข้นกับภาคเกษตรกรรมของไทยเพ่อรับมือกับสถานการณ์
ึ
ั
ความเส่ยงรอบด้าน โดยอาศัยแนวทางภายใต้แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาต ประเด็นการเกษตร
ี
ิ
แผนย่อยเกษตรอัจฉริยะ เป็นเคร่องมือและกลไกในการบูรณาการการทางานของหน่วยงานท่เก่ยวข้อง
�
ี
ี
ื
ี
โดยเฉพาะกับการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมเกิดนวัตกรรมทางด้านการเกษตรท่มีความหลากหลาย
การจัดการภาคเกษตรที่เป็นมิตรกับส่งแวดล้อม รวมถึงองค์ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดและการใช้
ิ
ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล ฐานข้อมูลสารสนเทศทางการเกษตรเพื่อการวางแผนการเกษตร ตลอดจน
การพัฒนาเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรอัจฉริยะที่มีความสามารถในการแข่งขัน
ั
ี
ท่ผ่านมาภาครัฐสร้างความย่งยืนให้กับภาค เทคโนโลยีข้นสูงในการผลิตพืชของกรมการข้าว ท่เป็นการ
ี
ั
เกษตรกรรมของไทยอย่างไร? พัฒนาและขยายผลระบบการผลิตข้าวด้วยเทคโนโลย ี
�
การดาเนินงานตามแผนแม่บทย่อยเกษตรอัจฉริยะ เกษตรอัจฉริยะให้กับเกษตรกรในพ้นท่นาแปลงใหญ่ที่เข้า
ื
ี
ปี 2564 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ควำมส�ำคัญ ร่วมโครงการ โดยหลังจากเข้าร่วมโครงการ พบว่า เกษตรกร
ั
ื
ั
ิ
ึ
ิ
กบกำรส่งเสรมกำรใช้เคร่องจกรกลทำงกำรเกษตรและ มีผลตอบแทนเฉล่ยเพ่มข้นเป็น 2,546.72 บาทต่อไร่
ี
ั
ื
เทคโนโลยีทำงกำรเกษตรเพ่อสร้ำงควำมย่งยืนในภำค จากเดิม 1,447.40 บาท 2) โครงการพัฒนาเทคโนโลย ี
ุ
ั
ั
ื
�
�
่
เกษตรกรรมของไทย ผ่านการดาเนินโครงการสาคญ นวัตกรรมเครองจกรและอปกรณ์ด้านปศสตว์ของ
ุ
ั
3 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการพัฒนาและประยุกต์ใช้ กรมปศุสัตว์ ที่เป็นการจัดตั้งศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตร
1 สถิติการค้าสินค้าเกษตรไทยกับต่างประเทศ ปี 2565 โดย ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2566
2 สารสนเทศเศรษฐกิจการเกษตรรายสินค้า ปี 2565 โดย ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2566
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 61