Page 18 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 18
2 แนวทางการใช้ประโยชน์ท่าเรอ จากท่าเรือไปพลางก่อน โดยดาเนินการให้เป็นไปตาม
ื
�
ี
ี
กฎหมายและระเบียบท่เก่ยวข้อง และมอบหมายการท่าเรือ
คลองใหญ่ มอบหมายให้กระทรวงคมนาคม
แห่งประเทศไทย ประสานสภาหอการค้าไทยจัดทา
�
เร่งรัดการท่าเรือแห่งประเทศไทยพิจารณา
�
ั
�
ดาเนินการตามข้นตอนในการเข้าเป็นผู้บริหาร รายละเอียดแผนการดาเนินการและรูปแบบการบริหาร
�
ื
ี
จัดการท่าเรือคลองใหญ่ จังหวัดตราด ตามมต ิ จัดการเพ่อใช้ประโยชน์ท่าเรือสาหรับให้บริการท่องเท่ยว
ี
คณะรัฐมนตรีเม่อวันท 16 ตุลาคม 2561 โดยให้หน่วยงานต่าง ๆ รายงานความคืบหน้าการ
่
ื
และพิจารณาความเป็นไปได้การเปิดให้บริการ ด�าเนินการในการประชุมฯ ครั้งต่อไป
ื
เป็นท่าเรือท่องเท่ยวเพ่อเป็นการใช้ประโยชน์
ี
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ
ี
�
รัฐบาลท่นาโดยนายเศรษฐา ทวีสิน มีนโยบายให้ความสาคัญกับการส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์
�
ของประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง เพราะเห็นว่าเป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่สินค้าและบริการ และ
ั
ั
ื
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อีกท้งเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์และสร้างความเช่อม่น
ี
ของประเทศไทยในเวทีโลก อย่างไรก็ตาม ท่ผ่านมาประเทศไทยมีคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ
ท่เก่ยวข้องกับการผลักดันซอฟต์พาวเวอร์ของไทยหลายคณะ เช่น คณะกรรมการนโยบายส่งเสริม
ี
ี
ภาพลักษณ์ของประเทศด้วยซอฟต์พาวเวอร์ คณะกรรมการภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาต ิ
ิ
ิ
ิ
ื
ั
่
คณะกรรมการวฒนธรรมแห่งชาต คณะอนกรรมการขบเคลอนซอฟต์พาวเวอร์ด้วยมตทางวฒนธรรม
ั
ุ
ั
ื
และคณะอนุกรรมการส่งเสริมภาพลักษณ์ประเทศผ่านส่อบันเทิงในลักษณะอานาจละมุน เป็นต้น
�
ี
ื
ี
ท่อาจมีความคาบเก่ยวในขอบเขตงานท่ต้องมีกลไกรับผิดชอบโดยตรงเพ่อบูรณาการการทางาน
�
ี
ี
ของหน่วยงานท่เกี่ยวข้องให้มีประสิทธิภาพและเป็นระบบมากข้น จึงได้มีการจัดต้งคณะกรรมการ
ั
ึ
ยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติขึ้น
ั
ั
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติแต่งต้งข้นโดยคาส่งนายกรัฐมนตร ี
ึ
�
ที่ 230/2566 ลงวันที่ 13 กันยายน 2566 ที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ และนายสุรพงษ์
สืบวงศ์ล เป็นกรรมการและเลขานุการ โดยมีเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ิ
ี
�
เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ซ่งคณะกรรมการชุดน้มีหน้าท่และอานาจในการกาหนดยุทธศาสตร์
ี
ี
�
ึ
�
จัดทานโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศ รวมถึงการเสนอแนะ
ต่อคณะรัฐมนตรีเพ่อกาหนดนโยบายท่เป็นประโยชน์ในการส่งเสริมซอฟต์พาวเวอร์ของประเทศไทย
ี
ื
�
และแต่งต้งคณะอนุกรรมการเพ่อช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าท โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ั
ื
่
ี
ั
ั
มีการเตรียมประเด็นการพัฒนาท้งในระยะส้น กลาง และยาว ท่มุ่งส่งเสริมและยกระดับซอฟต์พาวเวอร์
ี
้
ั
ู่
ั
�
ประเทศไทยใหสามารถนาไปสการพฒนาขดความสามารถในการแขงขันของภาคธุรกจ รวมทงยกระดับ
้
่
ิ
ี
รายได้และคุณภาพชีวิตของประชาชนท้งประเทศ ซ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 คณะกรรมการ
ั
ึ
ยุทธศาสตร์ซอฟต์พาวเวอร์แห่งชาติ จะน�าประเด็นการพัฒนาดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของที่ประชุม
ในครั้งแรก และมีการขับเคลื่อนสู่ระดับปฏิบัติในโอกาสต่อไป
16 | Transitioning Thailand: Coping with the Future