Page 154 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 154
ทั้งนี้ การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้านเศรษฐกิจสีเขียวภายใต้โครงการ PAGE
มีความสอดคล้องและเป็นส่วนหน่งของการพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
ึ
ิ
สังคมแห่งชาต ฉบับท 13 เพ่อให้เกิดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการพัฒนาด้าน
ี
ื
่
สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดความสมดุลและยั่งยืนต่อไป
โครงการ Maintaining a Sound Economic Policy through
the Second Economic Survey
หลักการและเหตุผล
ั
�
�
ิ
ิ
1. การจดทารายงานการสารวจและประเมนสถานะทางเศรษฐกจ (Economic
ึ
Assessment/Survey) เป็นหน่งในการดาเนินโครงการภายใต้โครงการ Country Program
�
ึ
่
ี
ื
(CP) ระยะท 2 ซ่งเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและองค์การเพ่อความ
ิ
ื
ร่วมมอทางเศรษฐกจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation
and Development หรือ OECD) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีบทบาทส�าคัญในการ
็
่
ิ
ิ
เสรมสร้างสมรรถนะและความเข้มแขงทางเศรษฐกจให้แก่ประเทศสมาชกทีเป็นประเทศ
ิ
ื
ั
�
พัฒนาแล้ว รวมท้งให้ความช่วยเหลือประเทศกาลังพัฒนาต่าง ๆ เพ่อส่งเสริมขีดความสามารถ
ึ
ในการวางแผนพัฒนาให้สูงข้น ผ่านการสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทางด้านวิชาการ
การให้ความช่วยเหลือการวิจัยเชิงนโยบายต่าง ๆ ตลอดจนให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทาง
การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
�
�
2. OECD ได้จัดทารายงานการสารวจและประเมินสถานะทางเศรษฐกิจของ
ประเทศต่าง ๆ โดยวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคของประเทศต่าง ๆ ในเชิงลึก รวมทั้งก�าหนด
ื
ประเด็นท้าทายท่ประเทศต้องเผชิญท้งในระยะส้นและระยะยาว เพ่อเป็นข้อมูลประกอบการ
ั
ี
ั
วางแผนและก�าหนดนโยบายในระยะต่อไป อาทิ แนวทางการเพิ่มผลิตภาพการผลิต การลด
ความเหลื่อมล�้า การส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นต้น โดย OECD มีการจัดท�าการประเมิน
สถานะทางเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ เป็นประจ�าอย่างต่อเนื่อง
ิ
�
3. สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ในฐานะหน่วยงาน
หลักในการจัดท�า ก�ากับดูแล ติดตามผลการด�าเนินงานของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ รวมทั้งสนับสนุนการจัดท�าและด�าเนินการพัฒนาประเทศตามแนวทางยุทธศาสตร์
ชาต 20 ปี เห็นว่าการจัดทารายงานสารวจและประเมินสถานะทางเศรษฐกิจ จะช่วย
ิ
�
�
สนับสนุนการวิเคราะห์และประเมินทิศทางเศรษฐกิจในเชิงลึกมากข้น เน่องจากผลการ
ึ
ื
�
�
สารวจและประเมินดังกล่าวถือเป็นฐานข้อมูลและเคร่องมือสาคัญประกอบการวิเคราะห์
ื
เศรษฐกิจมหภาคของประเทศ รวมท้งการศึกษาประเด็นความท้าทายต่าง ๆ โดยเฉพาะ
ั
ี
อย่างยงท่ามกลางความท้าทายจากแนวโน้มการเปลยนแปลงของบริบทโลกในปัจจบนท ี ่
่
่
ั
ุ
ิ
ั
ั
ี
ปรับเปล่ยนอย่างรวดเร็วและอาจกลายเป็นข้อจากดสาคญต่อการฟื้นตวของเศรษฐกจไทย
�
ิ
�
ั
ในระยะต่อไป นอกจากน ยังรวมถึงข้อเสนอแนะนโยบายท่ช่วยให้ประเทศสามารถรับมือกับ
้
ี
ี
ประเด็นท้าทายต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวทางและประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้
ี
ึ
ื
ผ่านกรณีศึกษาและการถอดบทเรียนจากกรณีท่เกิดข้นจริงในประเทศต่าง ๆ เพ่อเป็นการ
ู
ั
สร้างโอกาสให้ประเทศไทยสามารถก้าวไปส่การเป็นประเทศพฒนาแล้วได้ตามเป้าหมาย
ิ
ี
ท่วางไว้ในยุทธศาสตร์ชาต โดยท่ผ่านมา OECD ได้จัดทารายงานสารวจและประเมิน
�
�
ี
152 | Transitioning Thailand: Coping with the Future