Page 150 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 150
ทั้งนี้ในส่วนของผลการด�าเนินโครงการฯ ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ื
(ต.ค. 2565-ก.ย. 2566) ตามแนวทางการขับเคล่อนโครงการฯ สศช. และ UNDP ได้ร่วมกัน
ื
�
ขับเคล่อนโครงการความร่วมมือฯ ภายใต้กรอบการดาเนินงานโครงการฯ 3 เสาหลัก ประกอบ
้
ี
ื
ี
่
ื
ดวย เสาหลักท 1 การพัฒนากระบวนการและพ้นท่เพ่อการพัฒนานวัตกรรมเชิงนโยบาย
ี
่
(Policy Innovation Exploration and Experimentation) เสาหลักท 2 การยกระดับ
ขีดความสามารถของผู้จัดทานโยบาย (Capacity Building on Policy Innovation) และ
�
เสาหลักที่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายนวัตกรและผู้จัดท�านโยบาย (Community
�
ี
ี
of Innovators) โดยมีความก้าวหน้าการดาเนินการท่สาคัญ ดังน
้
�
ี
ื
1. เสาหลักท่ 1 การพัฒนากระบวนการและพ้นท่เพ่อการพัฒนานวัตกรรม
ี
ื
เชิงนโยบาย (Policy Innovation Exploration and Experimentation): เพื่อ
สร้างพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ภาคส่วนต่าง ๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการค้นหาและทดลอง
นวัตกรรมเชิงนโยบาย ด�าเนินการดังนี้
ึ
ี
่
ิ
ั
1.1 การศกษาแนวทางการเพมสดส่วนของประชากรวยเยาว์ท่ม ี
ั
ื
ิ
ึ
คุณภาพ เพ่อเพ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซ่งเป็นการต่อยอด
ื
เพ่อประยุกต์ใช้องค์ความรู้จากการอบรมใช้กระบวนการออกแบบเชิงระบบและการ
วิเคราะห์ส่วนประกอบ (System and Portfolio Approach) ในกระบวนการจัดท�า
ื
นโยบายสาธารณะ โดยความร่วมมือกับ Chôra Foundation เม่อเดือน ส.ค.-พ.ย.
2565 ท่ผ่านมา ควบคู่กับการทดลองใช้กระบวนการนโยบายสาธารณะ 8 ข้นตอน
ี
ั
(Public Policy Process Reimagined 8 elements in action) ในประเด็นด้านประชากร
ื
ของประเทศไทย เพ่อศึกษาแนวทางต่าง ๆ ท่สามารถแก้ไขปัญหาท่มีความซับซ้อน
ี
ี
และออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบายท่จะช่วย “เพ่มสัดส่วนของประชากรวัยเยาว์ท่ม ี
ิ
ี
ี
ึ
คุณภาพ ซ่งจะนาไปสู่การเพ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ” ในระยะ
�
ิ
แรกของการด�าเนินงาน TPLab ได้ท�าการส�ารวจความคิดเห็นของประชาชน (Social
ี
listening) รูปแบบใหม่ ท่สามารถเช่อมโยงให้เห็นถึงปัญหาและความต้องการต่าง ๆ
ื
ื
�
เม่อประชาชนตัดสินใจมีครอบครัว หรือมีลูก เช่น การจัดนิทรรศการศาลเจ้าฟัง-หวัง-ทา
ื
ึ
่
ในงาน Bangkok Design Week ในชวงเดอน ก.พ. 2566 ซงสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล
่
เชิงลึกได้กว่า 700 ตัวอย่าง และกิจกรรมการสารวจนิยามครอบครัวผ่านรสชาติไอศกรีม
�
(Diversity Café) ในช่วงเดือน มิ.ย. 2566 ณ สยามเซ็นเตอร์ กรุงเทพมหานคร ซึ่งเก็บ
ี
รวบรวมข้อมูลเชิงลึกได้ 928 ตัวอย่าง นอกจากน้การดาเนินงานในระยะต่อไป จะมุ่งเน้น
�
ิ
ิ
่
ี
ึ
การศกษาเพ่มเติม และออกแบบนวัตกรรมเชงนโยบายทจะสามารถลดความซับซ้อน
ต่าง ๆ ในการเพิ่มจ�านวนประชากรของประเทศไทย
ื
ื
1.2 การใช้เคร่องมือนวัตกรรมเชิงนโยบายเพ่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน
�
การออกแบบนโยบายและบริการสุขภาพ โดยร่วมมือกับสานักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาต และศูนย์บริการวิจัยและออกแบบ (Redek) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ิ
ี
ธนบุร จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การออกแบบบริการและนโยบายสุขภาพ ภายใต้
ิ
ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาต (Health Service Design Thinking Workshop)”
ในช่วง มิ.ย. 2566 ณ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดราชบุร เพ่อใช้เคร่องมือเชิงนวัตกรรม
ื
ื
ี
อาท การคาดการณ์อนาคต (Strategic Foresight) การรับฟังทางสังคม (Social Listening)
ิ
ี
และการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ท่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละ
ี
พ้นท่ร่วมกันออกแบบข้อเสนอเชิงนโยบายต่าง ๆ เพ่อนาไปปรับระบบประกันสุขภาพ
�
ื
ื
ของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพและให้ประชาชนท่วไป รวมถึงกลุ่มผู้เปราะบางการเข้าถึง
ั
บริการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ท่วถึง และเท่าเทียม ภายใต้การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
�
ั
ี
ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาต ฉบับท 5 ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2566–2570
่
ิ
�
148 | Transitioning Thailand: Coping with the Future