Page 152 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 152

ี
                                         ื
                                       เพ่อตอบสนองต่อปัญหาท่หลากหลายของประเทศต่าง ๆ โดยผู้เช่ยวชาญจากสถาบันต่าง ๆ
                                                           ี
                                          ิ
                                       อาท Melbourne School of Design, UNDP, Chora Foundation, สานักงาน
                                                                                                      �
                                                     ิ
                                       นวัตกรรมแห่งชาต กรุงเทพมหานคร รัฐบาลอิสราเอล และรัฐบาลไอซ์แลนด์
                                                                                        ิ
                                                                                ั
                                               3.2  การเผยแพร่องค์ความรู้ด้านนวตกรรมเชงนโยบาย ผ่านกจกรรม
                                                                                                       ิ
                                                                                                 �
                                       เส้นทางสานฝันนโยบาย (Policy Innovation Journey: PIJ) ให้กับผู้กาหนดนโยบาย
                                       ระดับจงหวัด ท้องถน และชุมชน เพอให้ผ้เข้าร่วมได้ทดลองใช้เครองมือเชิงนวัตกรรม
                                                                          ู
                                                       ่
                                             ั
                                                       ิ
                                                                     ่
                                                                                             ่
                                                                                             ื
                                                                     ื
                                       เพื่อออกแบบแนวทางในการปฏิบัติงานด้านนโยบายร่วมกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ได้แก่
                                                                                         ิ
                                       หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่น สถาบันการศึกษา และ
                                                                                 ึ
                                                    ึ
                                                                                               ี
                                       ภาคประชาชน ซ่งในเดือน ก.พ. 2566 ได้จัดกิจกรรมข้นในจังหวัดสระบุร และในเดือน ก.ย.
                                       2566 จัดข้น ณ จังหวัดขอนแก่น
                                               ึ
                                                 3.3  การพัฒนาแพลตฟอร์มนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Virtual Policy
                                                                    ื
                                                                                                       ี
                                                                                                            ิ
                                                             ่
                                                                                                       ่
                                                             ื
                                                                                                        ่
                                                                ็
                                                                    ่
                                                                                   ี
                                                                               ี
                                                                                      ้
                                       Innovation Platform) เพอเปนเครองมอแลกเปลยน เรยนร และชองทางสอสารทสงเสรม
                                                                                      ู
                                                                                                 ่
                                                                                                 ื
                                                                       ื
                                                                               ่
                                                                                           ่
                                       การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ในการออกแบบนโยบายสาธารณะ
                                                                                                        �
                                                   �
                                              การดาเนินงานของ TPLab ในระยะต่อไป TPLab จะให้ความสาคัญ
                                           �
                                       การดาเนินงานต่าง ๆ ควบคู่กับการพัฒนาและทดลองใช้กระบวนการนโยบายสาธารณะ
                                                                                                    ี
                                         ั
                                       8 ข้นตอน (Public Policy Process Reimagined 8 elements in action) ท่มีหลักการ
                                                   �
                                       สาคัญในการดาเนินงาน ได้แก่ การคิดเชิงระบบ (System thinking) การยึดหลัก
                                        �
                                       คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา (Human-centric approach) การมีส่วนรวมแบบ
                                       องค์รวม (Inclusive participation) การมุ่งเน้นการปฏิบัติ (Action-oriented) และ
                                       การมุ่งเน้นการเรียนรู้ (learning-oriented) รวมท้งการถอดบทเรียนนวัตกรรม
                                                                                    ั
                                                  ี
                                                                                   ี
                                                           ื
                                                       ึ
                                       เชิงนโยบายท่เกิดข้น เพ่อถ่ายทอดออกมาเป็นคู่มือท่สามารถส่งต่อองค์ความรู้และ
                                       ให้ค�าแนะน�าในการประยุกต์ใช้นวัตกรรมเชิงของหน่วยงานต่าง ๆ ได้
            โครงการความร่วมมือแห่งสหประชาชาติเพื่อปฏิบัติการ
            เศรษฐกิจสีเขียวแห่งชาติ (United Nations Partnership for
            Action on Green Economy: PAGE)
                    สศช. ร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ด�าเนิน
            โครงการ PAGE ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นโครงการระดับโลกที่ได้รับความเห็นชอบจากประเทศ
            ท่เข้าร่วมประชุมสหประชาชาติท่กรุงริโอ เดอจาเนโร เม่อปี ค.ศ.2013 ร่วมกับ
                                         ี
                                                              ื
              ี
            หน่วยงานภายใต้องค์การสหประชาชาติ ได้แก่ (1) United Nations Environment
            Programme; UNEP (2) International Labour Organization; ILO (3) United
            Nations Development Programme; UNDP (4) United Nations Industrial
            Development Organization; UNIDO และ (5) United Nations Institute for
                                           ื
            Training and Research; UNITAR เพ่อร่วมกันขับเคล่อนการดาเนินการด้านเศรษฐกิจ
                                                        ื
                                                               �
                                                                      ิ
            สีเขียวอย่างบูรณาการ (Inclusive Green Economy) เป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมและ
            สร้างความเท่าเทียมเสมอภาคกันในสังคมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
           150 | Transitioning Thailand: Coping with the Future
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157