Page 121 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 121
ี
ี
ความสะดวกและลดต้นทุนท่เก่ยวข้องกับการส่งออก (v) การป้องกันและแก้ไขปัญหากีดกัน
ทางการค้าโดยเฉพาะมาตรการที่ไม่ใช่ทางภาษี (vi) การส่งเสริมให้ภาคธุรกิจบริหารจัดการ
ี
่
ี
ั
ความเสยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปล่ยน (vii) การยกระดบขีดความสามารถใน
การแข่งขันของการผลิตสินค้า และ (viii) การเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
การผลิตวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางของประเทศ (4) การสร้างความเชื่อมั่นและสนับสนุน
ื
การขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน โดย (i) การขับเคล่อนการส่งออกให้กลับมา
ขยายตัว (ii) การเร่งรัดให้ผู้ประกอบการได้รับอนุมัติและออกบัตรส่งเสริมการลงทุนให้เกิด
การลงทุนจริงและเร่งอนุมัติโครงการท่เสนอขอรับการส่งเสริมการลงทุน (iii) การเร่งรัด
ี
ี
ุ
ิ
ให้ผู้ประกอบการโรงงานท่ได้รับใบอนญาตประกอบกจการโรงงานให้เร่มประกอบกิจการ
ิ
ึ
ได้เร็วข้น (iv) การแก้ไขปัญหาอุปสรรคท่สาคัญต่อการลงทุน (v) การดาเนินมาตรการส่ง
�
�
ี
ุ
ิ
ุ
ิ
ุ
ุ
ุ
ิ
ิ
เสรมการลงทนเชงรกผ่านยทธศาสตร์การส่งเสรมการลงทน (vi) การส่งเสรมการลงทนใน
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และการขับเคล่อนพ้นท่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และ
ื
ี
ื
ุ
(vii) การขบเคลอนการลงทนพฒนาพนทเศรษฐกจและโครงสรางพนฐานใหเปนไปตามแผนท ่ ี
ั
ิ
ี
่
ื
้
ื
้
ั
็
้
ื
้
่
ี
ื
่
ิ
ั
่
ุ
ี
่
ั
กาหนด (5) การสนบสนนการฟื้นตวของการท่องเทยวและบรการเกยวเนอง โดย (i)
�
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเท่ยวและสร้างการรับรู้ต่อมาตรการ LTR (ii) การติดตาม
ี
ี
ประเมินผลมาตรการการยกเว้นการตรวจลงตรานักท่องเท่ยว (iii) การกระจายตลาด
ี
ี
นักท่องเท่ยวให้สมดุล (iv) การส่งเสริมการใช้จ่ายของนักท่องเท่ยวให้มากข้น (v) การส่ง
ึ
ี
เสริมการท่องเท่ยวเมืองรอง และ (vi) การส่งเสริมการพัฒนาการท่องเท่ยวคุณภาพสูง
ี
(6) การดูแลการผลิตภาคเกษตรและรายได้เกษตรกร โดย (i) การป้องกันและบรรเทา
ผลกระทบจากภัยแล้ง (ii) การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกรผ่านระบบประกันภัย
พืชผล (iii) การเพ่มส่วนแบ่งให้เกษตรกรมีรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตข้นสุดท้าย
�
ั
ิ
(iv) การส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมเพ่อยกระดับมูลค่าเพ่มและผลิตภาพการผลิต
ื
ิ
และ (v) การส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตและใช้ปุ๋ยวัตถุดิบท่ผลิตในประเทศ และ (7) การ
ี
ื
รักษาแรงขับเคล่อนการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากการใช้จ่ายและการลงทุนภาครัฐ
ื
โดย (i) การเร่งรัดเบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายเหล่อมปีและงบลงทุนรัฐวิสาหกิจ
�
ี
ในช่วงท่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2567 ยังไม่มีผลบังคับใช้ (ii)
การเร่งรดกระบวนการงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2567 ไม่ให้ล่าช้า
ั
�
ี
กว่าท่คาด (iii) การเตรียมโครงการให้มีความพร้อมสาหรับการจัดซ้อจัดจ้างและการ
�
ื
เบิกจ่ายได้โดยเร็ว และ (iv) การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณและการใช้จ่าย
ภาครัฐ
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 119