Page 120 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 120
2 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2566-2567
เศรษฐกิจไทยในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 โดยมีปัจจัยสนับสนุน
้
ิ
ั
ื
์
ั
ุ
ี
่
จากการขยายตวในเกณฑดของการอปโภคบรโภคภาคเอกชน การฟนตวของภาคการทองเทยว
่
ี
ื
ิ
ตามการขยายตัวในเกณฑ์สูงของนักท่องเท่ยวต่างชาต และการขยายตัวอย่างต่อเน่อง
ี
ของการลงทุนภาคเอกชน อย่างไรก็ด เศรษฐกิจไทยยงมีข้อจากดและปัจจัยเส่ยงสาคญ
ั
ี
ี
ั
�
�
ั
จากแนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกท่เป็นข้อจากัดต่อภาคการส่งออกสินค้าและ
ี
�
ี
ั
ี
ภาคการผลิตอุตสาหกรรม รวมท้งภาระหน้สินครัวเรือนและภาคธุรกิจท่ยังอยู่ในระดับสูง
ี
ี
และความเส่ยงจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศท่อาจส่งผลกระทบต่อภาค
ิ
ุ
ี
ั
้
การเกษตร ท้งน คาดว่าการบรโภคภาคเอกชน และการลงทนรวมขยายตัวร้อยละ 7.0
ี
และร้อยละ 1.3 ตามลาดับ ขณะท่มูลค่าการส่งออกสินค้า การอุปโภคภาครัฐบาล ปรับตัว
�
�
ลดลงร้อยละ 2.0 และร้อยละ 4.2 ตามลาดับ อัตราเงินเฟ้อท่วไปเฉล่ยอยู่ท่ร้อยละ 1.4
ี
ี
ั
่
และบัญชีเดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.0 ตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
์
สาหรับเศรษฐกิจไทยในปี 2567 มีแนวโน้มขยายตัวในช่วงร้อยละ 2.7–3.7
�
(ค่ากลางร้อยละ 3.2) ปรับตัวดีขึ้นจากปี 2566 โดยมีปัจจัยสนับสนุนส�าคัญจากการกลับมา
ขยายตัวของการส่งออก การขยายตัวในเกณฑ์ดีของอุปสงค์ภายในประเทศ ทั้งการอุปโภค
ื
บริโภคและการลงทุนภาคเอกชน และการฟื้นตัวอย่างต่อเน่องของภาคการท่องเท่ยว อย่างไร
ี
ก็ดี การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังมีความเสี่ยงและข้อจ�ากัดที่ส�าคัญซึ่งอาจท�าให้เศรษฐกิจไทย
ี
�
ขยายตัวตากว่าท่คาดการณ์ ได้แก่ ข้อจากัดของแรงขับเคล่อนทางการคลัง ภาระหน้สิน
�
ื
่
ี
ี
ครัวเรือนและภาคธุรกิจท่อยู่ในระดับสูง ความเส่ยงจากปัญหาภัยแล้งต่อผลผลิตภาคเกษตร
ี
และการชะลอตัวมากกว่าท่คาดของเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าท่ามกลางความเส่ยงจากความ
ี
ี
ี
ขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์และความผันผวนของระบบเศรษฐกิจและการเงินโลกท่ยังอยู่
้
ี
ในเกณฑ์สูงท้งน คาดว่า การบริโภคภาคเอกชนจะขยายตัวร้อยละ 3.2 การลงทุนภาคเอกชน
ั
ขยายตัวร้อยละ 2.8 การอุปโภคภาครัฐบาลขยายตัวร้อยละ 2.2 และมูลค่าการส่งออกสินค้า
ขยายตัวร้อยละ 3.8 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยคาดว่าจะอยู่ในช่วงร้อยละ 1.7-2.7 และบัญชี
์
เดินสะพัดเกินดุลร้อยละ 1.5 ตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
่
3 ประเด็นก�รบริห�รนโยบ�ยเศรษฐกิจในช่วงท่เหลือ
ี
ของปี 2566 และปี 2567
ควรให้ความส�าคัญกับ (1) การดาเนินนโยบายการเงินการคลังอย่างเหมาะสม
�
่
ื
สอดคล้องกับเง่อนไขทางเศรษฐกิจของประเทศ (2) การเตรียมมาตรการเพอรองรับ
ื
ื
ึ
ี
ี
ผลกระทบและใช้ประโยชน์จากความเส่ยงท่อาจเกิดข้น (3) การขับเคล่อนภาคการส่งออก
สินค้าให้กลับมาขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง โดย (i) การเร่งรัดการส่งออกสินค้าไปยังตลาด
ท่ยังขยายตัวด และการสร้างตลาดใหม่ (ii) การขับเคล่อนการส่งออกสินค้าท่มีศักยภาพและ
ี
ี
ื
ี
เป็นท่ต้องการของตลาดโลก (iii) การใช้ประโยชน์จากกรอบความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ
ี
�
ระดับภูมิภาค (RCEP) ควบคู่ไปกับการเร่งรัดการเจรจาความตกลงการค้าเสร (iv) การอานวย
ี
118 | Transitioning Thailand: Coping with the Future