Page 115 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 115
ื
ั
รายจ่ายเพ่อการอุปโภคข้นสุดท้ายของรัฐบาล ขยายตัวร้อยละ 3.7 เทียบกับ
ี
ท่ขยายตัวร้อยละ 1.4 ในปีก่อนหน้า จากการขยายตัวของค่าตอบแทนแรงงาน และ
ี
�
�
ื
การโอนเพ่อสวัสดิการสังคมท่ไม่เป็นตัวเงินสาหรับสินค้าและบริการในระบบตลาดเป็นสาคัญ
ด้านการสะสมทุนถาวรเบื้องต้น ขยายตัวร้อยละ 3.1 เร่งตัวขึ้นจากที่ลดลง
ร้อยละ 4.8 ในปี 2563 เป็นผลมาจากการขยายตัวของการลงทุนทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ
ี
ึ
โดยการลงทุนภาคเอกชนขยายตัวร้อยละ 3.0 เร่งตัวข้นจากท่ลดลงร้อยละ 8.1 ในปีก่อนหน้า
ื
ื
�
�
ิ
ึ
เป็นการลงทุนเพ่มข้นในเคร่องจักรเคร่องมือเป็นสาคัญ สาหรับการลงทุนภาครัฐขยายตัว
ร้อยละ 3.4 ชะลอตัวลงเทียบกับที่ขยายตัวร้อยละ 5.1 ในปีก่อนหน้า ปัจจัยส�าคัญมาจาก
ี
ึ
การลงทุนของรัฐบาลท่ชะลอตัวลง ขณะท่การลงทุนของรัฐวิสาหกิจปรับตัวดีข้น จากท ่ ี
ี
หดตัวในปีก่อนหน้า
ส�าหรับภาคต่างประเทศ มูลค่าท่แท้จริงของกำรส่งออกสินค้ำ เพ่มข้นร้อยละ
ิ
ึ
ี
ี
15.3 เทียบกับท่ลดลงร้อยละ 5.8 ในปี 2563 สาหรับรายการบริการรับลดลงร้อยละ
�
ึ
ึ
ี
19.9 ปรับตัวดีข้นจากท่ลดลงร้อยละ 61.3 ในปี 2563 ด้านกำรน�ำเข้ำสินค้ำ เพ่มข้นร้อยละ
ิ
ี
ิ
ึ
18.2 เทียบกับท่ลดลงร้อยละ 10.6 ในปี 2563 นอกจากน้รายการบริการจ่ายเพ่มข้น
ี
ี
่
ร้อยละ 16.0 เทียบกับทลดลงร้อยละ 26.7 ในปี 2563 ดุลการค้าและบริการ ณ ราคา
�
ี
ประจาปี ในปีน้เกินดุล 5,261 ล้านบาท เกินดุลในระดับตาเทียบกับท่เกินดุล 812,831
่
ี
�
ล้านบาท และ 1,578,846 ล้านบาท ในปี 2563 และ 2562 ตามล�าดับ
ฐานะการคลังของรัฐบาล ในปีปฏิทิน 2564 รัฐบาลขาดดุลเงินงบประมาณ
888,362 ล้านบาท และเกินดุลเงินนอกงบประมาณ 51,941 ล้านบาท ท�าให้ขาดดุลเงินสด
จ�านวน 836,421 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 5.2 ของ GDP โดยขาดดุลลดลงจากที่
ขาดดุล 941,980 ล้านบาท ในปี 2563 หรือร้อยละ 6.0 ของ GDP ส่วนมูลค่าหนี้สาธารณะ
คงค้างส้นปีมีจานวนท้งส้น 9,644,257ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 59.7 ของ GDP
�
ิ
ิ
ั
เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2563 ที่มีหนี้คงค้างมูลค่า 8,136,115 ล้านบาท หรือร้อยละ 52.0
ของ GDP
ภ�วะก�รออมและก�รลงทุน
2 การออมในปี 2564 ลดลงร้อยละ 1.9 ปรับตัวดีข้นเม่อเทียบกับการลดลง
ื
ึ
ุ
้
ี
รอยละ 15.9 ในป 2563 ขณะทการลงทนเพ่มข้นร้อยละ 24.5 เร่งตัวข้นจากท่ลดลงร้อยละ
ี
ึ
่
ี
ึ
ิ
ุ
ุ
7.6 ในปี 2563 ส่งผลให้ช่องว่างระหว่างการออมและการลงทนในปี 2564 ขาดดล
ี
ี
่
ในมูลค่า 333,003 ล้านบาท เทียบกับท่เกินดุลมูลค่า 658,576 ล้านบาท ในปกอนหนา
้
�
ั
นับเป็นการขาดดุลการออมเป็นปีแรกนับต้งแต่ปี 2556 ปัจจัยสาคัญมาจากการออมของ
�
ี
ี
ภาครัฐบาลท่ขาดดุล 1,739,486 ล้านบาท จากการท่ภาครัฐบาลยังคงดาเนินนโยบาย
ี
ี
ั
การคลังในแบบงบประมาณขาดดุลต่อเนื่องมาต้งแต่ปี 2550 ขณะท่ภาคธุรกิจท่ไม่ใช่การเงิน
�
ุ
ขาดดลการออม 115,102 ลานบาท โดยเปนการขาดดลการออมเปนปแรกในรอบ 10 ป สาหรบ
ี
็
็
้
ี
ุ
ั
ภาคสถาบันที่เกินดุล ประกอบด้วย ภาคครัวเรือน ฯ และภาคสถาบันการเงิน โดยเกินดุล
ิ
ท้งส้น 789,858 ล้านบาท และ 731,727 ล้านบาท ตามลาดับ ท้งน้ช่องว่างระหว่าง
ี
ั
�
ั
ี
การออมและการลงทุนในปี 2564 ท่ขาดดุลการออมดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 2.1
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 113