Page 96 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 96

94
                     สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
                                                                                          ื
                        “สภาพปัญหาการหลอกลวงยุคดิจิทัล และแนวทางแก้ไข” การหลอกลวงผ่านการส่อสารสมัยใหม่มีแนวโน้ม
                 ึ
              ิ
                                                                                                            ื
                                                     ึ
                               ี
            เพ่มข้น และมีรูปแบบท่ซับซ้อน/หลากหลายมากข้น ในช่วง 1 ปี คนไทยมีประสบการณ์ถูกหลอก และมีผู้ตกเป็นเหย่อ
                                                                               �
             �
            จานวนมาก โดยพฤติกรรม/ทักษะการใช้เทคโนโลยี และบุคลิกภาพส่วนบุคคลเป็นปัจจัยสาคัญต่อการเข้าถึงและการตกเป็นเหย่อ
                                                                                                            ื
            ในการนี้ จึงจ�าเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้ประชาชนรู้เท่าทันและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการปัญหาของหน่วยงานภาครัฐ













                        “วิกฤตความม่นคงทางด้านอาหาร : มาตรการและแนวทางยกระดับให้ไทยมีความม่นคงอย่างย่งยืน”
                                                                                                        ั
                                   ั
                                                                                              ั
                                                                                          �
                                                                               ี
            แม้ประเทศไทยจะมีความอุดมสมบูรณ์ด้านอาหารค่อนข้างมาก แต่ไทยยังมีประเด็นท่ต้องให้ความสาคัญหลายประการ อาท    ิ
                                                                           ี
                                                                                                    ี
                                                                         ื
                                                                   ี
                           ี
            การเข้าถึงอาหารท่มีคุณภาพและเพียงพอของกลุ่มผู้มีรายได้น้อยหรือผู้ท่อยู่ในพ้นท่ห่างไกล ปัญหาการผลิตอาหารท่ไม่ปลอดภัย
            รวมถึงความรู้ด้านโภชนาการและพฤติกรรมบริโภคอาหารไม่เหมาะสม ซ่งเป็นความท้าทายและข้อจากัด ท่อาจส่งผลกระทบ
                                                                     ึ
                                                                                               ี
                                                                                          �
            ต่อความมั่นคงทางด้านอาหารของไทยในอนาคต













                                                                              ั
                                                          ี
                         “มองคนจนหลายมิติ  ปี  2564  ปัญหาท่ไม่ใช่แค่เร่องเงินเท่าน้น”  แม้ว่าในปี  2564 ประเทศไทย
                                                                   ื
            มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ท่มีความรุนแรงและจาเป็นต้องมีการใช้มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดฯ
                                                   ี
                                                                   �
              ี
            ท่ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและหารายได้ของประชาชน แต่สถานการณ์ความยากจนด้านตัวเงินหรือคนจน
            จากเส้นความยากจนปรับตัวลดลงจากมาตรการช่วยเหลือของรัฐ อย่างไรก็ตามหากพิจารณาปัญหาคุณภาพชีวิตของประชาชน
            ในด้านอ่น ๆ ท่สามารถวดได้จาก “ความยากจนหลายมิต” แม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลง แต่กลบมปัญหารนแรงและซับซ้อนกว่ามาก
                   ื
                                                                                ั
                               ั
                                                       ิ
                                                                                   ี
                       ี
                                                                                         ุ
            ซึ่งจ�าเป็นต้องหาแนวทางแก้ไขปัญหาให้ได้อย่างตรงจุด
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101