Page 92 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 92
3
กลไกก�รขับเคลื่อนก�รพัฒน�ที่ยั่งยืน
�
ระดับนโยบาย มีการดาเนินการผ่านกลไก กพย. โดยมีการจัดประชุม กพย.
ครั้งที่ 1/2566 ขึ้นเมื่อวันพุธที่ 8 มีนาคม 2566 ซึ่งที่ประชุมได้เห็นชอบร่างระเบียบส�านัก
ิ
นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประเมินส่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ พ.ศ..... และข้อเสนอการ
้
ี
�
ปรับปรุงองค์ประกอบของคณะอนุกรรมการและคณะทางานใต้ กพย. นอกจากน สศช.
ั
ี
ิ
ในฐานะฝ่ายเลขานการของคณะกรรมการ กพย. ยงได้ดาเนินการเร่งรดตดตามข้อมูลตัวช้วด
ั
�
ุ
ั
SDGs จากหน่วยงานรับผิดชอบ SDGs ทั้งในรายเป้าหมายหลัก (Goal) หรือหน่วยงาน C1
และรายเป้าหมายย่อย (Target) หรือหน่วยงาน C2 เพื่อน�าข้อมูลมาใช้ประกอบการติดตาม
และประเมินผลความคืบหน้าการขับเคลื่อน SDGs ต่อไป
สศช. ยังด�าเนินการขับเคลื่อน SDGs ผ่านกลไกของคณะอนุกรรมการภายใต้ กพย.
ทั้ง 4 คณะ โดยผลการด�าเนินงานส�าคัญ อาทิ คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้มีการจัดการองค์ความรู้และพัฒนาแพลตฟอร์ม
ื
SEP for SDGs ภายใต้เว็บไซต์ “ประเทศไทยกับการพัฒนาท่ย่งยืน” เพ่อเป็นคลังข้อมูลกลาง
ี
ั
สาหรับเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและเช่อมโยงภาคีเครือข่าย อีกท้งยังมีการจัดกิจกรรม
�
ื
ั
ื
ี
ื
ขับเคล่อน SDG Lab ในพ้นท่ขยายผล จังหวัดสมุทรสงคราม คณะอนุกรรมการการประเมิน
สิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์ ได้ด�าเนินการขับเคลื่อนการประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์
ิ
้
ู
้
่
่
ั
่
ื
ึ
ั
์
้
่
้
ี
่
(SEA) อยางตอเนอง อาท การจดสมมนาและฝกอบรมเพอใหองคความรแกผูทเกยวของและ
ี
่
่
ื
ประชาชนทั่วไป การพัฒนาแนวทาง SEA และคู่มือ SEA เชิงประยุกต์ คณะอนุกรรมการ
ภาคเอกชนขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งมีการประชุมคณะอนุกรรมการฯ 2 ครั้ง และ
ื
ี
ี
ได้มีการลงพ้นท่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพ่อศึกษาดูงานเก่ยวกับแนวคิดด้านความย่งยืน
ั
ื
ี
ท่สามารถใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซ่งมุ่งเน้นการออกแบบเชิงนิเวศและเศรษฐกิจหมุนเวียน
ึ
ื
ั
ี
และคณะอนุกรรมการพลังเยาวชนขับเคล่อนการพัฒนาท่ย่งยืน ได้มีการประชุม
ั
ื
ั
คณะอนกรรมการฯ 1 ครง เพอร่วมหารอแนวทางการพฒนาศกยภาพของแพลตฟอร์ม
ั
ุ
่
้
ื
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน และการศึกษาความเป็นไปได้เพื่อจัดท�าข้อเสนอ
การพัฒนาหลักสูตรการศึกษา/กิจกรรมที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับ SDGs
ระดับพื้นที่ สศช. ได้ร่วมด�าเนินการกับหน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ในการลงพื้นที่จริงเพื่อขับเคลื่อน SDGs ในระดับพื้นที่ อาทิ จังหวัดกาฬสินธุ์ ในช่วงเดือน
มกราคม 2566 โดยเน้นขับเคล่อนในประเด็นความยากจน การศึกษา และสาธารณสุข
ื
ั
ั
ี
�
อีกท้งยังได้นาองค์ความรู้ของการพัฒนาท่ย่งยืนและการขับเคล่อน SDGs มาประยุกต์ใช้
ื
ื
ื
ี
ิ
�
ร่วมกับการขับเคล่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ฉบับท 13 ในพ้นท่นาร่อง
่
ี
�
�
ตาบลเกาะยาวใหญ่ อาเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา ในประเด็นการพัฒนาการท่องเที่ยว
ื
ื
ั
ให้มีคุณภาพและย่งยืน โดยมีการลงพ้นท่เพ่อจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ในช่วงเดือน
ี
�
ื
ื
กันยายน 2566 เพ่อสารวจความต้องการของชุมชนและรวบรวมองค์ความรู้เพ่อจัดทา
�
แนวทางและแผนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ยั่งยืนต่อไป
90 | Transitioning Thailand: Coping with the Future