Page 75 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 75
การสนับสนุนการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน
1 ก�รขับเคลื่อนแผนพัฒน�ฯ ฉบับที่ 13 หมุดหม�ยที่ 8 ไทยมี
ั
ี
ี
ื
้
ู่
่
ื
ั
ั
่
พนท่และเมืองอจฉริยะ ท่น่�อย ปลอดภยเติบโตได้อย�งยงยน
ในปี 2565 สศช. ได้รับงบประมาณในการด�าเนินโครงจัดท�าร่างยุทธศาสตร์การ
พัฒนาเมืองในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570)
ื
ื
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อขับเคล่อนและเผยแพร่กลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาภายใต้
หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัยเติบโตได้อย่างยั่งยืน และ
�
เพ่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมกันเสนอแนะแนวทางการดาเนินงาน หรือแผนงานโครงการท ี ่
ื
ี
่
ื
ชัดเจน เป็นรูปธรรม และตอบสนองความต้องการของประชาชนในพ้นท โดยกลุ่มเป้าหมาย
ของการสัมมนา ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาชน และประชาสังคมในพื้นที่ทั้ง
6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และ
ภาคใต้ชายแดน
การสัมมนาจัดขึ้นใน 6 ภาคของประเทศ และมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาทุกภาครวม
�
ประมาณ 884 คน โดยผลจากการสัมมนาเบ้องต้นพบว่า ภาคต่าง ๆ ให้ความสาคัญ
ื
กับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีและนวัตกรรม และโลจิสติกส์ มากที่สุด โดย
์
่
ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้ความส�าคัญกับการพัฒนาระบบโครงขายอินเตอรเน็ตไรสาย
้
การพัฒนาแพลตฟอร์มช่องทางการจาหน่ายสินค้าและบริการของจังหวัดภายในภาค
�
การพฒนาระบบคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสตกส์ให้ครอบคลมและได้มาตรฐาน
ิ
ั
ุ
ภำคกลำง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานด้านความปลอดภัยภายในเมือง
ื
�
ั
เช่น การติดต้งกล้อง CCTV การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนให้ครอบคลุมและประชาชน
สามารถเข้าถึงได้ รวมถึงการพัฒนาระบบสวัสดิการให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม
ภำคตะวันออก ให้ความสาคัญกับการเร่งรัดการพัฒนารถไฟความเร็วสูง การพัฒนา
�
ี
ื
่
แพลตฟอร์มรองรับตลาดออนไลน์ให้ประชาชนในพ้นท รวมถึงการพัฒนาระบบอินเตอร์เน็ต
ุ
ั
ั
ไร้สายให้ครอบคลมทกจังหวดภายในภาค ภำคใต้ ให้ความสาคญกบการพฒนาระบบ
ั
ุ
ั
�
คมนาคมขนส่งสาธารณะให้มีความเช่อมโยงกันทกรูปแบบการเดินทางและครอบคลม
ุ
ุ
ื
ทุกพ้นท่ของภาคใต้ นอกจากน้ยังให้ความสาคัญกับการพัฒนาท่าเรือให้สามารถรองรับ
�
ื
ี
ี
�
ความต้องการการขนส่งสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภำคใต้ชำยแดน ให้ความสาคัญ
ั
้
กับการเช่อมโยงระบบโลจิสติกส์ท้งทางบก ทางนา และทางอากาศ การขยายท่าเรือ
ื
�
ื
เพ่อรองรับการขนส่งสินค้า รวมถึงการสร้างแพลตฟอร์มรองรับการกระจายสินค้า
ื
ของจังหวัดชายแดนใต้ สาหรับ ภำคเหนือ ให้ความสาคัญในการขับเคล่อนการพัฒนาเมือง
�
�
โดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น การพัฒนาศักยภาพชุมชนให้มีองค์ความรู้ในการเพ่ม
ิ
ี
มูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลย การพัฒนาบุคลากรด้านการ
ท่องเที่ยวให้มีความเชี่ยวชาญ เพื่อยกระดับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในภูมิภาคอย่างยั่งยืน
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 73