Page 77 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 77
2 ก�รจัดทำ�แนวท�งก�รจัดทำ�ดัชนีชี้วัดเมืองน่�อยู่อย่�งย่งยืน
ั
(เบื้องต้น)
่
ี
ี
้
ี
ั
ุ
่
แผนพฒนาฯ ฉบับท 13 หมดหมายท 8 ไทยมพนทและเมองอจฉริยะท่นาอย ่ ู
ั
่
ี
่
ื
ี
ื
้
ั
ิ
่
ื
�
่
ั
ปลอดภย เตบโตไดอยางยงยน กาหนดแนวทางในการพัฒนาให้เมืองให้มีความน่าอยู่
ั
อย่างย่งยืน (Livable-Sustainable) มีความครอบคลุมและยืดหยุ่น (Inclusive-
ี
Resilient) และเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart) ท่สามารถใช้ประโยชนจากเทคโนโลยและ
์
ี
ี
นวัตกรรมท่ทันสมัยและชาญฉลาดในการเพ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเมืองได้
ิ
ื
โดยเป้าหมายท 3 การพัฒนาเมืองให้มีความน่าอยู่อย่างย่งยืน มีความพร้อมในการรบมอ
ี
่
ั
ั
ี
และปรับตัวต่อการเปล่ยนแปลงทุกรูปแบบ เพ่อให้ประชาชนทุกกลุ่มมีคุณภาพชีวิต
ื
ที่ดีอย่างทั่วถึง ปัจจุบันยังไม่มีการจัดท�าตัวชี้วัดที่สะท้อนเป้าหมายที่ 3 การพัฒนาเมือง
ั
น่าอยู่อย่างย่งยืนได้อย่างเป็นรูปธรรม สศช. จึงริเร่มศึกษำและพัฒนำดัชนีช้วัดแบบผสม
ี
ิ
(Composite Index) เมืองน่ำอยู่อย่ำงยั่งยืน โดยในปี 2566 ได้ด�าเนินโครงการศึกษา
ื
ี
แนวทางการจัดทาดัชนีช้วัดเมืองน่าอยู่อย่างย่งยืน เพ่อวัดผลลัพธ์การพัฒนาเมือง ภายใต้
ั
�
ิ
ี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ฉบับท 13 โดยได้ทบทวน วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
่
�
ดัชนีช้วัดแบบผสม 12 รายการ และได้ทดลองรวบรวมข้อมูลและจัดทาดัชนีช้วัดแบบผสม
ี
ี
เบื้องต้น ได้แก่ (1) The Global Urban Monitoring Framework (UMF) (2) City
Prosperity Index (CPI) และ (3) The Global Liveable Cities Index (GLCI) ในพื้นที่
3 แห่ง (เทศบาลนครขอนแก่น เทศบาลเมืองแสนสุข และเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา)
เพ่อศึกษาความเป็นไปได้และความพร้อมของข้อมูลในระดับเมือง โดยผลการศึกษา
ื
�
ี
ั
ั
่
ี
ี
พบว่าดชนชวดแบบผสมทมความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการเป็นต้นแบบสาหรับ
ี
้
ี
�
ั
ั
ิ
ื
ื
การจัดทาดัชนีช้วัดเมืองน่าอยู่อย่างย่งยืนประเทศไทย คอ กรอบการตดตามการพฒนาเมอง
ของโลก (UMF) ซึ่ง สศช. จะใช้ดัชนีชี้วัดดังกล่าวในการเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาดัชนีชี้วัด
แบบผสมเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป
นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2566 สศช. จัดการสัมมนา “แนวทางการวัด
ั
ิ
์
ั
ั
่
ผลลพธการพฒนาเมอง ในชวงแผนพฒนาเศรษฐกจและสงคมแหงชาต ฉบบท 13 (พ.ศ. 2566
ี
ั
่
่
ั
ื
ิ
ี
–2570)” โดยม นายเอนก มีมงคล รองเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
์
แห่งชาต เป็นประธาน ณ โรงแรมปรนซ พาเลซ มหานาค กรุงเทพมหานคร และได้รับเกียรติ
ิ
ิ
ุ
จากวทยากรผทรงคณวฒ 3 ทาน ไดแก (1) Mr. Srinivasa Popuri, Chief of UN-Habitat
ุ
ิ
ู
้
้
่
่
ิ
Bangkok, Multi-Country Program Office (2) Mr. Robert Ndugwa, Head of Data
and Analytics Section, UN-Habitat Nairobi, Kenya และ (3) ดร.วิฑูรย์ อภิสิทธิ์
ภูวกุล รองผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และประเมินผล กรุงเทพมหานคร พร้อมท้ง
ั
�
�
นางสาวพรรณิสา นิรัตติวงศกรณ์ Technical Advisor, UN Habitat Bangkok เป็น
ผู้ดาเนินรายการ โดยการสัมมนาฯ มีวัตถุประสงค์เพ่อสร้างความเข้าใจเก่ยวกับกรอบการ
�
ี
ื
การสัมมนา แนวทางการวัดผลลัพธ์การพัฒนาเมือง
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ติดตามการพัฒนาเมืองของโลก (UMF) ซึ่งจัดท�าโดย UN Habitat และเพื่อแลกเปลี่ยน
ี
ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2570) ความเห็นเก่ยวกับการประยุกต์ใช้ UMF ในการวัดผลลัพธ์การพัฒนาเมือง ท้งน สศช.
ั
ี
้
็
จะรวบรวมความเหนและข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมสัมมนาไปประมวล เพ่อจัดทาดัชน ี
ื
�
ชี้วัดแบบผสมเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของประเทศไทยต่อไป
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 75