Page 114 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 114
บัญชีเศรษฐกิจเงินทุนของประเทศไทยปี 2564
1 ภ�พรวมเศรษฐกิจไทยปี 2564
เศรษฐกิจไทยปี 2564 ขยายตัวร้อยละ 1.5 เทียบกับท่ลดลงร้อยละ 6.1
ี
ในปี 2563 เป็นการขยายตัวท้งการผลิตในภาคเกษตรและภาคนอกเกษตร โดยการ
ั
ผลิตภาคเกษตรขยายตัวจากผลผลิตพืชหลักส่วนภาคนอกเกษตรมีปัจจัยส�าคัญมาจาก
ิ
ั
ั
การแพร่ระบาดของโรค COVID-2019 ท้งในประเทศและต่างประเทศท่วโลกเร่มลด
ื
่
ุ
้
่
�
ิ
ความรุนแรงลง ประกอบกับรัฐบาลได้ดาเนินมาตรการเพ่อกระตนเศรษฐกจตาง ๆ อยาง
ต่อเนื่อง โดยการผลิตภาคนอกเกษตร มีสัดส่วนร้อยละ 91.3 ของ GDP ขยายตัวร้อยละ
1.4 เทยบกบท่ลดลงร้อยละ 6.3 ในปี 2563 โดยการผลตในภาคอตสาหกรรม มสัดส่วน
ี
ุ
ั
ี
ิ
ี
ี
ร้อยละ 32.3 ของ GDP ขยายตัวร้อยละ 3.7 เทียบกับท่ลดลงร้อยละ 5.8 ในปี 2563
ี
ปัจจัยส�าคัญมาจากการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวสูงเมื่อเทียบกับป 2563 นอกจากนี้
ี
ิ
ี
การผลตในภาคบรการขยายตวไดด โดยขยายตัวร้อยละ 0.3 เทียบกับท่ลดลงร้อยละ 6.6 ในปี
ิ
้
ั
2563 เป็นผลจากการผ่อนคลายมาตรการเพ่อการควบคุมโรคของรัฐบาล ส่งผลให้ประชาชน
ื
ั
เร่มกลับมาประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตามปกติมากข้น ท้งน ยังมีการเร่งจัดหาและ
้
ี
ิ
ึ
�
รณรงค์ให้มีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคฯ ช่วยให้ประชาชนเกิดความม่นใจในการดาเนินชีวิต
ั
ึ
ึ
มากข้น ส่งผลบวกต่อการผลิตด้านบริการในหลายสาขาปรับตัวดีข้นโดยเฉพาะสาขาการ
ขายส่ง ขายปลีก การซ่อมยานยนต์ และจักรยานยนต์ขยายตัวร้อยละ 1.7 เทียบกับที่ลดลง
ร้อยละ 3.2 ในปี 2563
สาขาการเงินและการประกันภัยขยายตัวร้อยละ 5.5 ต่อเน่องจากท่ขยาย
ื
ี
ตัวร้อยละ 5.3 ในปี 2563 สาขาการขนส่ง และสถานที่เก็บสินค้า และสาขาที่พักแรมและ
บริการด้านอาหารลดลงร้อยละ 2.8 และร้อยละ 15.0 ปรับตัวดีขึ้นจากที่ลดลงร้อยละ 22.7
�
�
และร้อยละ 36.9 ในปี 2563 ตามลาดับ สาหรับการผลิตในภาคเกษตรกรรมขยายตัวร้อยละ
ั
ิ
่
ี
ั
2.3 เทยบกบทลดลงร้อยละ 3.3 ในปี 2563 โดยผลตภณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
ี
�
ณ ราคาประจาปี มีมูลค่า 16,167 พันล้านบาท และรายได้ประชาชาติ (GNI) มีมูลค่า
15,590 พันล้านบาท
�
ั
ี
้
อุปสงค์ในประเทศ ปี 2564 โดยรวมขยายตัว ท้งน ปัจจัยสาคัญมาจาก
ี
สถานการณ์โดยรวมของการแพร่ระบาดของโรค COVID-2019 ท่มีแนวโน้มลดความรุนแรงลง
ประกอบกับรัฐบาลทยอยผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ เพ่อควบคุมโรค ส่งผลในทางบวก
ื
โดยตรงต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การดาเนินชีวิตของประชาชน ด้านการจ้างงาน และ
�
�
ี
รายได้ของครัวเรือน นอกจากน้การดาเนินมาตรการเพ่อกระตุ้นการใช้จ่าย และช่วยเหลือ
ื
ึ
ื
ค่าครองชีพอย่างต่อเน่อง เช่น โครงการเราชนะ ม.33 เรารักกัน และคนละคร่ง เป็นต้น
ื
�
ช่วยสนับสนุนให้กาลังซ้อของครัวเรือนปรับตัวดีข้น นอกจากน้สินเช่อเพ่อการอุปโภค
ื
ึ
ี
ื
บริโภคส่วนบุคคลของธนาคารพาณิชย์ยังขยายตัวได้ดี อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยลบจาก
อัตราเงินเฟ้อท่อยู่ในระดับสูง ขณะท่ประชาชนยังคงมีความกังวลใจต่อการฟื้นตัวของภาวะ
ี
ี
เศรษฐกิจ ส่งผลให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคยังคงอยู่ในระดับต�่า
ึ
�
ื
สาหรับการใช้จ่ายเพ่อการอุปโภคบริโภคของเอกชน โดยรวมเพ่มข้นร้อยละ
ิ
0.6 จากที่ลดลงร้อยละ 0.8 ในปี 2563 โดยการใช้จ่ายในหมวดสินค้าไม่คงทน และบริการ
ขยายตัว ขณะที่สินค้าคงทนและกึ่งคงทนลดลง
112 | Transitioning Thailand: Coping with the Future