Page 48 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 48
46
สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
ผลการด�าเนินการตามแนวทางการขับเคลื่อนการขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุกช่วงวัยบนฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ 4 แนวทาง
แนวทางที่ 1 การเติมเต็ม หน่วยงานของรัฐได้ร่วมเติมเต็มข้อมูลในระบบ TPMAP โดยได้จัดส่งข้อมูลมายัง สศช. อาทิ
ข้อมูลในระบบ TPMAP • ข้อมูลคนยากจนความจาเป็นพ้นฐาน (จปฐ.) ตามดัชนีการพัฒนาคนหลากหลายมิต ิ
ื
�
ให้ครอบคลุมประเด็นการ (Multidimensional Poverty Index: MPI)
พัฒนาทุกมิติ และ
ทุกพื้นที่ในประเทศ • ข้อมูลบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
• ข้อมูลเกษตรกรกลาง (Farmer One)
• ข้อมูลระบบตลาดกลางที่ดิน
• ข้อมูลระบบสินเชื่อ
• ข้อมูลระบบเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงที่ดิน
้
่
แนวทางที่ 2 การรวมแกไข • สศช. ได้ดาเนินการพัฒนาแบบสอบถามเพ่อการพัฒนาคนทุกช่วงวัยในระดับครัวเรือนและบุคคล
�
ื
ปัญหาในระดับบุคคล/ เพื่อน�าไปสู่การก�าหนด MPI ในระดับประเทศและระดับพื้นที่
ครัวเรือน ลงพื้นที่ตรวจ
ื
ี
ื
่
ี
ี
ี
สอบหากลุ่ม เป้าหมาย • ได้มีการลงพ้นท่ร่วมกับหน่วยงานท่เก่ยวข้องในระดับพ้นท ใน 5 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก สงขลา
วิกฤต และเยี่ยมบ้าน นครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร (เขตบางกอกน้อย และบางพลัด) และอุดรธานี เพื่อทดสอบการเก็บ
(Knock Knock) ข้อมูลแบบสอบเพื่อการพัฒนาคน
�
�
• ได้ทาการสรุปข้อมูลผลการดาเนินการขจัดความยากจนและการพัฒนาคนทุกช่วงวัย รายจังหวัด
ี
ื
�
(ณ เดือนกันยายน 2565) พบว่า มีการลงพ้นท่สารวจปัญหาครัวเรือนเป้าหมายท้ง 77 จังหวัด
ั
จ�านวนทั้งสิ้น 621,360 ครัวเรือน จากจ�านวนครัวเรือนเป้าหมายทั้งหมด 629,280 ครัวเรือน
แนวทางที่ 3 การร่วม • สศช. ได้มีการบูรณาการความร่วมมือเพื่อร่วมพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ (ศจพ. น�าร่อง) โดยได้พิจารณา
แก้ไขปัญหาและพัฒนา คัดเลือกพ้นท 3 จังหวัด 6 พ้นท ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอุดรธาน และจังหวัดสระบุร ี
่
ี
ื
ี
่
ื
ี
คนอย่างยั่งยืน โดยใช้ ซึ่งเป็นการร่วมด�าเนินการกับ ศจพ. ในระดับพื้นที่และภาคีการพัฒนาต่าง ๆ อาทิ องค์การทุนเพื่อ
ระบบบริหารจัดการ เด็กแห่งสหประชาชาต (United Nations International Children’s Emergency Fund: UNICEF)
ิ
ข้อมูลการพัฒนาคนแบบ โดยการดาเนินการพัฒนาพ้นท่ต้นแบบมีแนวทางการดาเนินการร่วมกันผ่านกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม
�
ี
�
ื
ชี้เป้า (TPMAP) ประกอบด้วย (1) การพัฒนาระบบข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล (Dashboard)
(2) การออกแบบแนวทางการบูรณาการการท�างานร่วมกันของภาคีการพัฒนา (3) การประเมินผล
กระทบของชุดโครงการ/สวัสดิการ/ความคุ้มครองทางสังคม
้
้
แนวทางที่ 4 การร่วม • สศช. ไดท�าการประมวลผลการน�าเขาขอมูลการด�าเนินการสถานการณตาง ๆ ของการพัฒนาของคน
้
์
่
ติดตาม ตรวจสอบ และ หรือครัวเรือน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในระบบ Logbook รวมถึงการด�าเนินงานจากระบบ
ประเมินผล eMENSCR เพ่อใช้ประกอบการติดตามตรวจสอบและประเมินผล เพ่อนาไปปรับปรุงแก้ไขแนวทาง
�
ื
ื
การขับเคล่อนการแก้ไขปัญหาความยากจนและการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ท่มุ่งเน้นการให้ความ
ื
ี
ช่วยเหลือและพัฒนากลุ่มคนเป้าหมายอย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพ
• จัดต้งคณะท�างานกาหนดข้นของการพัฒนาการแก้ไขปัญหาความยากจนและการพัฒนาคน
�
ั
ั
ทุกช่วงวัยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดการก�าหนดค่ามาตรฐานในการน�าไปใช้
เป็นเกณฑ์กลางส�าหรับการประเมินการหลุดพ้นในแต่ละขั้นของการพัฒนา (อยู่รอด พอเพียง และ
ยั่งยืน)