Page 47 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 47
การขับเคลื่อนกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ
1 ก�รดำ�เนินง�นของคณะกรรมก�รเศรษฐกิจเอเปค (Economic
Committee: EC)
ส�านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี
ให้เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการติดตาม และเข้าร่วมการประชุมในคณะกรรมการเศรษฐกิจ
เอเปค (Economic Committee: EC) ซึ่งมีภารกิจหลักในการสนับสนุนองค์ความรู้ด้านแนวโน้ม
และความท้าทายทางเศรษฐกิจให้แก่รัฐมนตรีเอเปคและกรอบการประชุมอื่น ๆ ของเอเปค และ
�
ึ
สนับสนุนการดาเนินงานของเอเปคในการส่งเสริมการปฏิรูปโครงสร้าง ซ่งโดยปกติการประชุม EC
จะจัดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ในช่วงการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปค ครั้งที่ 1 และ 3 ของทุกปี
ในปี 2566 สศช. ได้เข้าร่วมการประชุม EC ครั้งที่ 1 และ 2 ภายใต้การเป็นเจ้าภาพของ
สหรัฐอเมริกา โดย สศช. ได้กล่าวรายงานเกี่ยวกับผลการประชุม Good Regulatory Practice
ครั้งที่ 15 (GRP15) ซึ่ง สศช. เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมในปี 2565 ณ จังหวัดเชียงใหม่ รวมทั้ง
รับทราบรายงานการทบทวนการดาเนินงานระยะกลางของการยกระดับวาระการปฏิรูปโครงสร้าง
�
เอเปค (Enhanced APEC Agenda for Structural Reform: EAASR) ซึ่งได้น�าเสนอประเด็น
ี
�
ิ
ื
ท่เขตเศรษฐกิจเอเปคควรเร่งดาเนินการเพ่อยกระดับการพัฒนา อาท สภาพแวดล้อมทางกฎ
ี
ระเบยบเพอสนบสนุนภาคบริการ บทบาทของสตรในระบบเศรษฐกจ สภาพแวดล้อมท่เอ้อต่อ
่
ั
ื
ี
ื
ี
ิ
ี
ี
การพัฒนานวัตกรรม และการเปล่ยนผ่านสู่เศรษฐกิจสีเขียว นอกจากน ไทยยังมีภารกิจในการ
้
�
เป็นผู้นาร่วมของคณะทางานหลัก (Co-Lead) ร่วมกับสหรัฐฯ ในการจัดทารายงานเศรษฐกิจ
�
�
เอเปค ปี 2566 (APEC Economic Policy Report: 2023 AEPR) ในหัวข้อ Structural Reform
and an Enabling Environment for Sustainable Business for Inclusive, Resilient and
ี
ึ
ุ
�
ื
ี
ี
Sustainable Business ซ่งมีวัตถประสงค์เพ่อแลกเปล่ยนแนวปฏิบัติท่ด และนาเสนอข้อเสนอ
ี
ื
ี
แนะเชิงนโยบายเพ่อสร้างสภาพแวดล้อมท่เอ้อต่อการประกอบธุรกิจท่ย่งยืน มีความรับผิดชอบ
ื
ั
ิ
ต่อสังคม ยืดหยุ่นและมีนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อส่งแวดล้อมในภูมิภาคเอเปค โดยรายงาน
ี
ดังกล่าวได้รับการรับรองจากเขตเศรษฐกิจ และได้นาเสนอต่อท่ประชุมเจ้าหน้าท่อาวุโสเอเปค
ี
�
ครั้งสุดท้าย และที่ประชุมรัฐมนตรีเอเปค ณ นครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ในเดือนพฤศจิกายน 2566
ู
ี
ั
ท้งน ในห้วงปี 2567 ภายใต้การเป็นเจ้าภาพของสาธารณรัฐเปร ไทยจะร่วมเป็น
้
คณะทางานในการจัดทา AEPR 2024 ในหัวข้อ Structural Reform and Financial Inclusion โดย
�
�
สศช. ในฐานะหน่วยงานรับผิดชอบหลักของ EC จะได้ประสานการดาเนินการเพ่อผลักดันให้
ื
�
�
ี
รายงานดังกล่าวมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่จะเป็นประโยชน์และสอดคล้องกับการดาเนินงาน
ของไทยต่อไป
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 45