Page 46 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 46
2.7 การขับเคลื่อนการด�าเนินงานในระยะต่อไป
• ด�าเนินการประชาสัมพันธ์และการตลาดเชิงรุกเพื่อดึงดูดการลงทุนและสร้างการรับรู้ให้ประชาชน
• เพิ่มประสิทธิภาพการอ�านวยความสะดวกด้านการลงทุนให้มีความสะดวกและรวดเร็ว
ื
ั
• เร่งพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานให้แล้วเสร็จตามแผนและใช้ประโยชน์ให้เต็มศักยภาพ รวมท้งพัฒนา
เชื่อมโยงกับระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่เศรษฐกิจส�าคัญทั้งในและต่างประเทศ
ี
• สนับสนุนให้การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพ้นทใช้เทคโนโลยีท่สูงข้น สร้างมูลค่าเพ่มและ
ึ
่
ื
ิ
�
ี
สามารถเข้าไปร่วมอยู่ในห่วงโซ่อุปทานของภาค/ประเทศ/ระหว่างประเทศ
• พัฒนาแรงงานให้เพียงพอและสอดรับกับกิจการเป้าหมายที่ส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่
• เสริมศักยภาพของผู้ประกอบการ โดยเฉพาะ SMEs ให้สามารถแข่งขันได ้
การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
ดาเนินการขับเคล่อนการพัฒนาภายใต้พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
�
ื
3.พ.ศ. 2561 ซ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
ึ
สังคมแห่งชาติเป็นกรรมการ และเลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
�
�
เป็นกรรมการและเลขานุการ การพัฒนามีความก้าวหน้าโดยลาดับ ปัจจุบันได้ดาเนินการผลักดัน
ื
การลงทุนโครงสร้างพ้นฐาน โดยเฉพาะโครงการร่วมทุนระหว่างรัฐและเอกชน (Public Private
Partnership) ใน 4 โครงการหลัก ได้แก่ รถไฟความเร็วสูงเช่อมสามสนามบิน สนามบินอู่ตะเภา ท่าเรือ
ื
ี
่
ี
่
มาบตาพุดระยะท 3 และท่าเรือแหลมฉบังระยะท 3 การผลักดันให้เกิดการลงทุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย
ขนาดใหญ่จากต่างประเทศ อาท ยานยนต์ไฟฟ้า ดิจิทัล การแพทย์สมัยใหม่ และโลจิสติกส์
ิ
ื
ุ
ั
ิ
ั
การยกระดบเศรษฐกจชมชน รวมทงการส่งสริมการพัฒนาเมืองน่าอยู่อัจฉริยะให้เอ้อต่อการขยายตัว
้
้
ิ
ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสมดุล ท้งน สานักงานฯ ได้ให้ความเหนประกอบการพจารณาของ
็
ั
ี
�
ี
คณะรัฐมนตรีเก่ยวกับการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเป็นระยะ รวมถึงมีส่วนร่วมในการ
พิจารณาโครงการและงบประมาณของแผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
44 | Transitioning Thailand: Coping with the Future