Page 73 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 73

71
                                                                        สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ

                                                     ่
                                                     ี
                                                                                                     ี
                                  แนวทางการพัฒนาท 3 การพัฒนาพิธีการศุลกากร กระบวนการนาเข้า-ส่งออกท่เก่ยวข้อง
                                                                                         �
                                                                                                       ี
                                  และการอานวยความสะดวกในการขนส่งระหว่างประเทศ  โดยพัฒนาการเช่อมโยงข้อมูล
                                                                                                  ื
                                          �
                                                                  ิ
                                  และใช้ประโยชน์จากระบบ NSW อาท แพลตฟอร์มการค้าดิจิทัลระหว่างประเทศของไทย
                                  (National Digital Trade Platform: NDTP) และระบบ Port Community System (PCS)
                                             ื
                                  ผลักดันการเช่อมโยงข้อมูลผ่าน ASEAN Single Window (ASW) พัฒนากระบวนการโลจิสติกส์
                                  ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาการอานวยความสะดวกการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน
                                                                �
                                  ณ ประตูการค้าที่ส�าคัญ เร่งพัฒนาความร่วมมือและแก้ไขอุปสรรคการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
                                  รวมท้งปรับปรุงและพัฒนากฎหมายและระเบียบท่เก่ยวข้องกับการขนส่งและโลจิสติกส์
                                                                               ี
                                                                             ี
                                       ั
                                  ระหว่างประเทศ
                                  แนวทางการพัฒนาที่ 4 การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย โดยเสริมสร้างศักยภาพ
                                  ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ด้วยการสนับสนุนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และ Digital Platform ในการ
                                                                                                          ู
                                  ให้บรการขนส่งและโลจสตกส์ตลอดกระบวนการ รวมทงยกระดบผ้ให้บรการโลจสตกส์ไทยส่เวท ี
                                                    ิ
                                                       ิ
                                                                             ั
                                                                                    ั
                                                                             ้
                                                                                                 ิ
                                                                                                   ิ
                                      ิ
                                                                                           ิ
                                                                                      ู
                                                                 ี
                                                                           ิ
                                  สากล ผลักดันการพัฒนาโมเดลธุรกิจท่ทันสมัย อาท การให้บริการโลจิสติกส์ข้ามแดน (Cross
                                  Border Logistics) และการจัดการโซ่ความเย็น (Cold Chain Logistics) และสร้างเครือข่าย
                                  ความร่วมมือทั้งในประเทศและภูมิภาค โดยเฉพาะผู้ประกอบการ SME และ Startup
                                                     ี
                                                     ่
                                                                               ั
                                  แนวทางการพัฒนาท 5 การส่งเสริมการวิจยและพฒนานวัตกรรม การพัฒนาบุคลากร
                                                                        ั
                                                                                      ิ
                                                                         ิ
                                                                   ิ
                                                                                                 ์
                                                                                                         ั
                                  และการติดตามผลด้านโลจิสติกส์ โดยสงเสรมการวจัยและนาผลงานวจัยไปประยุกตใช้ในการพฒนา
                                                                ่
                                                                               �
                                                                  ี
                                  เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านโลจิสติกส์ท่ทันสมัยภายในประเทศ ส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม
                                   ี
                                  ท่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนากิจกรรมโลจิสติกส์ พัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์
                                  ด้วยการปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมท่เหมาะสมกับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ท่มุ่งเน้นการ
                                                                    ี
                                                                                                   ี
                                                                                                      ั
                                                                            ื
                                   �
                                  นาเทคโนโลยีมาใช้งาน และยกระดับทักษะแรงงานเพ่อเข้าสู่ตลาดแรงงานสากล รวมท้งติดตาม
                                                                                          ื
                                                                                                          ี
                                  และประเมินผลการพัฒนาด้านโลจิสติกส์ ด้วยการพัฒนาระบบจัดเก็บ เช่อมโยง และแลกเปล่ยน
                                  ข้อมูลรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน
                   2) ความร่วมมือในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศในภูมิภาค (ไทย-กัมพูชา)
                   สศช. ด�าเนินการสร้างความร่วมมือทางวิชาการด้านโลจิสติกส์กับกระทรวงคมนาคมของประเทศกัมพูชา (Ministry of
                                                     ึ
            Public Works and Transport, Cambodia) ซ่งเป็นหน่วยงานวางแผนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ โดยประชุมหารือ
                                                                           ั
                                                                                   �
                                                                                           ื
                                                                                       ี
                                                ื
                      ี
            และแลกเปล่ยนความรู้ในการจัดทาและขับเคล่อนแผนพัฒนาระบบโลจิสติกส์ รวมท้งการจัดทาตัวช้วัดเพ่อประเมินผลการพัฒนา
                                      �
                                       ั
                                   ื
                                                           ่
            ระบบโลจิสติกส์มาอย่างต่อเน่องต้งแต่ปี 2561 โดยเม่อวันท 19 กรกฎาคม 2565 เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
                                                           ี
                                                       ื
            สังคมแห่งชาติ และปลัดกระทรวงคมนาคมของประเทศกัมพูชา (H.E. Koy Sodany, Secretary of State of the Ministry of
            Public Works and Transport, Cambodia) ได้ประชุมหารือแนวทางการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ และลงนามในบันทึก
            ความเข้าใจ (MOU) เพ่อแลกเปล่ยนความรู้ทางวิชาการด้านโลจิสติกส์ระหว่างกัน ณ สศช  ซ่งมีสาระสาคัญความร่วมมือ
                                                                                               �
                                                                                       ึ
                                       ี
                               ื
                                                         ี
            ใน 4 ด้าน ได้แก่ (1) ความร่วมมือด้านนโยบาย อาท การแลกเปล่ยน
                                                ิ
            ข้อมูล  ความรู้  และประสบการณ์ในการวางแผนและ
            ขับเคล่อนนโยบายด้านโลจิสติกส์ (2) การพัฒนาตัวช้วัด
                  ื
                                                         ี
            และระบบฐานข้อมูลโลจิสติกส์  อาท  การพัฒนาข้อมูล
                                            ิ
                     ิ
                        ิ
                 ุ
                                                 ิ
            ต้นทนโลจสตกส์ต่อ  GDP  (3)  การส่งเสรมการสร้าง
            เครือข่ายความร่วมมือทางด้านโลจิสติกส์ในภูมิภาค  และ
                                                          ั
            (4) การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรร่วมกันของท้ง
            2 หน่วยงาน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78