Page 72 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 72
70
สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
การขับเคลื่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย
�
�
ื
ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สศช. ได้ดาเนินการขับเคล่อนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ผ่านการดาเนินงาน
�
ั
�
ั
ิ
ั
ิ
ี
ิ
ทสาคญ ได้แก่ (1) การจัดทาแผนปฏบตการด้านการพฒนาระบบโลจสตกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 และ
่
ิ
(2) การสร้างความร่วมมือในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ระหว่างประเทศในภูมิภาค (ไทย-กัมพูชา) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1) การจัดท�าแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570
แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย พ.ศ. 2566-2570 เป็นกลไกท่ใช้ถ่ายทอดเป้าหมาย
ี
ี
ี
ิ
ี
ิ
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาต แผนแม่บทท่เก่ยวข้อง และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ไปสู่การปฏิบัติในช่วง 5 ปีท่สอง
ิ
ี
ี
ื
ของยุทธศาสตร์ชาต ซ่งหน่วยงานท่เก่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์เพ่อให้สามารถบรรลุเป้าหมาย
ึ
ื
�
การพัฒนา โดยแผนปฏิบัติการฯ มีวัตถุประสงค์ “เพ่อให้ระบบโลจิสติกส์เป็นกลไกสาคัญในการผลักดันให้ประเทศไทยเป็นประต ู
ื
�
การค้าท่สาคัญในอนุภูมิภาคและภูมิภาค เช่อมโยงการประกอบธุรกรรมทางการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาระบบ
ี
ิ
โลจิสติกส์สู่รูปแบบการเช่อมโยงข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างสมบูรณ์ และเพ่มประสิทธิภาพการทาธุรกิจของผู้ประกอบการ
ื
�
ทั้งด้านการผลิต การบริการ การค้า การลงทุน และกิจกรรมโลจิสติกส์” ประกอบด้วย 5 แนวทาง สรุปดังนี้
ิ
�
่
ื
ั
ี
แนวทางการพฒนาท 1 การพัฒนาโครงสร้างพ้นฐานและส่งอานวยความสะดวก โดยสร้าง
โครงข่ายการเชื่อมโยงการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ระหว่างท่าเรือ รถไฟ ถนน และท่าอากาศยาน
�
ี
ื
ื
อย่างครอบคลุม เช่อมโยงพ้นท่เศรษฐกิจ พ้นท่อุตสาหกรรม และด่านชายแดนสาคัญ พัฒนา
ื
ี
ศูนย์บริการโลจิสติกส์และปรับปรุงด่านชายแดนท่สาคัญ รวมถึงบริหารจัดการโครงสร้างพ้นฐาน
ื
ี
�
และศูนย์บริการโลจิสติกส์ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
แนวทางการพัฒนาท 2 การยกระดับมาตรฐานและเพ่มมูลค่าโซ่อุปทาน โดยพัฒนาการ
่
ิ
ี
ั
บริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานภาคการเกษตร รวมท้งพัฒนาระบบนิเวศ (Ecosystem)
ี
�
ี
ท่เหมาะสมต่อการเติบโตของผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม และการดาเนินการท่เป็นมิตร
ิ
ต่อส่งแวดล้อม โดยผลักดันมาตรการสนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและลดปริมาณ
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก