Page 141 - รายงานประจำปี 2565
P. 141
รายงานประจำาปี 2564 141
สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
การประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
ี
ื
่
คณะรัฐมนตรีในการประชุมเม่อวันท 15 กันยายน 2563 เห็นชอบกรอบและแนวทาง การประเมิน
ส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
�
โดยกรอบการประเมินผล จ�าแนกเป็น 2 องค์ประกอบ คือ (1) การประเมินประสิทธิผลการด�าเนินงาน (Performance
Base) น�้าหนักร้อยละ 70 จ�านวน 3 – 5 ตัวชี้วัด และ (2) การประเมินศักยภาพในการด�าเนินงาน (Potential Base)
น�้าหนัก ร้อยละ 30 ซึ่งมีการก�าหนดเกณฑ์การประเมิน 3 ระดับ ได้แก่ ระดับคุณภาพ ระดับมาตรฐาน (มาตรฐานขั้นสูง
และมาตรฐานขั้นต้น) และระดับต้องปรับปรุง รวมทั้งก�าหนด รอบระยะเวลาการประเมิน ปีละ 1 ครั้ง (รอบการประเมิน
สอดคล้องกับปีงบประมาณ)
โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สศช. ได้เสนอตัวชี้วัดด้านประสิทธิผลการด�าเนินงาน (Performance Base)
จ�านวน 4 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดด้านศักยภาพในการด�าเนินงาน (Potential Base) จ�านวน 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
น�้ำหนัก
ล�ำดับ ตัวชี้วัด
(ร้อยละ)
กำรประเมินประสิทธิผลกำรด�ำเนินงำน (Performance Base) 70
1 รายงานการวิเคราะห์ผลความส�าเร็จของกิจกรรม Big Rock ภายใต้แผนการ 20
ปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
2 ความส�าเร็จในการจัดท�ารายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทย ประจ�าปี 2563 15
3 ความส�าเร็จของการจัดท�าข้อเสนอโครงการส�าคัญเพื่อขับเคลื่อนเขตพัฒนา 20
เศรษฐกิจพิเศษ
4 ความส�าเร็จในการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล�้า 15
ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงลึก
กำรประเมินศักยภำพในกำรด�ำเนินงำน (Potential Base) 30
1 การพัฒนาองค์การสู่ดิจิทัล : การพัฒนาระบบบัญชีข้อมูล (Data Catalog) 15
เพื่อน�าไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data)
2 การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0) 15
รวมน�้ำหนัก 100
ื
หมำยเหตุ : เน่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อ
ื
ี
ื
�
การดาเนนงานของสวนราชการ ครม. จึงมีมติให้ส่วนราชการรายงานผลการดาเนินงานตามตัวช้วัดเพ่อใช้ในการติดตาม
ิ
�
่
่
�
(Monitoring) และถอดบทเรียนการบริหารจัดการผลกระทบและการแก้ไขปัญหาของหน่วยงานในการปฏิบัติงาน โดยไมนา
ผลการด�าเนินงานไปประเมินตามที่ส�านักงาน ก.พ.ร. เสนอ