Page 19 - พลิกประเทศไทย ก้าวไปด้วย2022
P. 19
17
สำ�นักง�นสภ�พัฒน�ก�รเศรษฐกิจและสังคมแห่งช�ติ
ี
ั
�
สรุปสาระสาคัญแผนพฒนาฯ ฉบับท่ 13
ั
่
ู
พลิกโฉมประเทศไทยสสงคมก้าวหน้า
เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างย่งยืน
ั
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ 13 และหมุดหมายการพัฒนา ดังนี้
ี
ี
(พ.ศ. 2566–2570) เป็นแผนพัฒนาฯ ฉบับแรกท่เริ่มต้น 1. การปรับโครงสร้างการผลิตสู่เศรษฐกิจฐาน
ี
กระบวนการยกร่างภายหลังจากท่มีการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาต ิ นวัตกรรม โดยมุ่งยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
�
เป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว มีการกาหนด ของภาคการผลิตและบริการส�าคัญ ผ่านการส่งเสริมการสร้าง
ึ
ี
ิ
หมุดหมายการพัฒนา ซ่งบ่งบอกถึงส่งท่ประเทศไทยปรารถนา มูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์
จะ ‘เป็น’ หรือมุ่งหวังจะ ‘มี’ ในช่วงระยะเวลา 5 ปี โดยแต่ละ ท่ตอบโจทย์พัฒนาการของสังคมยุคใหม่และเป็นมิตรต่อ
ี
ี
หมุดหมายได้วางกลยุทธ์การพัฒนาท่บูรณาการองค์ประกอบ สิ่งแวดลอม พรอมทั้งใหความส�าคัญกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ
้
้
้
้
้
�
ั
ต่าง ๆ ต้งแต่ต้นนาไปจนถึงปลายนา รวมถึงปัจจัยสนับสนุน ท้องถ่นและผู้ประกอบการรายย่อยกับห่วงโซ่มูลค่าของภาค
�
ิ
ต่าง ๆ ท่ช่วยสนับสนุน โดยในแต่ละหมุด การผลิตและบริการเป้าหมาย
ี
หมายไม่ได้แยกออกจากกันโดยเด็ดขาด 2. การพัฒนาคนส�าหรับโลกยุคใหม่ โดยมุ่งพัฒนา
ื
ุ
ื
ั
ี
แต่ให้มการสนบสนนหรอเอ้อประโยชน์ ให้คนไทยมีทักษะและคุณลักษณะท่เหมาะสมกับโลกยุคใหม่
ี
ึ
ซ่งกันและกัน เพ่อให้การพัฒนาบรรลุผล ท้งทักษะในด้านความรู้ ทักษะทางพฤติกรรม และคุณลักษณะ
ื
ั
เป้าหมาย ตามบรรทัดฐานท่ดีของสังคม และเร่งรัดการเตรียมพร้อมกาลัง
�
ี
คนให้มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
แนวคิดพื้นฐานของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 รวมท้งให้ความสาคัญกับการสร้างหลักประกันและความ
ั
�
การกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ คุ้มครองทางสังคมที่สามารถส่งเสริมความมั่นคงในชีวิต
�
ี
ของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ 13 ยังคงน้อมนาหลักปรัชญาของ 3. การมุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม
�
�
เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นปรัชญานาทางในการกากับทิศทาง โดยมุ่งลดความเหล่อมลาทางเศรษฐกิจและสังคม ท้งในเชิง
�
ั
�
้
ื
การพัฒนาประเทศให้เติบโตอย่างสมดุล รวมท้งยึดถือกรอบ รายได้ พนท ความมงคง และการแข่งขนของภาคธรกจ
ั
ิ
่
่
้
ื
ั
่
ี
ุ
ั
ั
ของเป้าหมายการพัฒนาอย่างย่งยืนของสหประชาชาต ิ ด้วยการสนับสนุนช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางและผู้ด้อยโอกาส
ั
และได้นาแนวคิดการพัฒนาซ่งมีความสอดรับกับสถานการณ์ ให้มีโอกาสในการเล่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม กระจาย
�
ึ
ื
และรัฐบาลให้ความสาคัญมาปรับใช้ ได้แก่ การสร้าง โอกาสทางเศรษฐกิจและจัดให้มีบริการสาธารณะท่มีคุณภาพ
�
ี
ความสามารถในการ “ล้มแล้ว ลุกไว” หรือ Resilience อย่างท่วถึงและเท่าเทียมในทุกพ้นท่ พร้อมท้งเพ่มโอกาส
ั
ื
ี
ิ
ั
เป็นการพัฒนาความสามารถใน 3 ระดับ ที่ใช้ในการรับมือกับ ในการแข่งขันของภาคธุรกิจให้เปิดกว้างและเป็นธรรม
การเปล่ยนแปลง ประกอบด้วย (1) การพร้อมรับ (Cope) 4. การเปล่ยนผ่านการผลิตและบริโภคไปสู่
ี
ี
ี
(2) การปรับตัว (Adapt) และ (3) การเปล่ยนแปลง ความยั่งยืน โดยมุ่งลดการก่อมลพิษ ควบคู่ไปกับการผลักดัน
เพื่อเติบโต (Transform) และโมเดลเศรษฐกิจ BCG ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและ
สอดคล้องกับขีดความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ
เป้าหมายหลักของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ตลอดจนลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพ่อให้
ื
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีวัตถุประสงค์ที่จะพลิกโฉม ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน
ประเทศไทยสู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกจสร้างมลค่า ภายในปี 2593 และบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
ิ
ู
�
ั
อย่างย่งยืน” โดยกาหนดเป้าหมายท่ต้องการบรรลุผล สุทธิเป็นศูนย์ภายในปี 2608
ี