Page 107 - Transitioning Thailand : Copying with the Future
P. 107
โครงสร้างสาขาการผลิตหลักของแต่ละภูมิภาค เขตกรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล มีสัดส่วนสูงที่สุดร้อยละ 46.8 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สาขา
การผลิตหลักของพื้นที่นี้ ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ
และสาขากิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย ล�าดับที่สอง คือ ภาคตะวันออก
มีสัดส่วนร้อยละ 18.2 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง
�
ี
�
การขายปลีกฯ และ สาขาการทาเหมืองแร่และเหมืองหิน ลาดับท่สาม คือ ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ มีสัดส่วนร้อยละ 10.3 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ
ี
ี
�
สาขาอุตสาหกรรม และสาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ ลาดับท่ส คือ ภาคใต้
่
มีสัดส่วนร้อยละ 7.9 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ สาขาการขายส่ง
การขายปลีกฯ และสาขาอุตสาหกรรม ล�าดับที่ห้า คือ ภาคเหนือ มีสัดส่วนร้อยละ
ี
7.7 สาขาการผลิตท่สาคัญ ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ สาขาอุตสาหกรรม และสาขา
�
การขายส่ง การขายปลีกฯ ล�าดับที่หก คือ ภาคกลาง มีสัดส่วนร้อยละ 5.5 สาขา
การผลิตหลัก ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ และ สาขา
ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน�้าและระบบปรับอากาศ ล�าดับที่เจ็ด คือ ภาคตะวันตก มีสัดส่วน
ร้อยละ 3.6 สาขาการผลิตหลัก ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ สาขาอุตสาหกรรม และ
สาขาการขายส่ง การขายปลีกฯ
ผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัว (GRP per capita) ปี 2564 ภาคตะวันออก
มีค่าเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัวสูงสุดเท่ากับ 469,872 บาทต่อปี รองลงมาคือ
เขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันตก ภาคใต้ ภาคเหนือ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีค่าเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์
ภาคต่อหัวต�่าสุดเท่ากับ 90,998 บาทต่อปี
ผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัว (GRP per capita) และอัตราเพิ่ม ในปี 2563 – 2564
GRP per capita (บาท/ปี) อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ภาค
2563 2564 2563 2564
ตะวันออกเฉียงเหนือ 86,832 90,998 1.7 4.8
เหนือ 108,932 111,018 -5.0 1.9
ใต้ 132,692 131,807 -12.4 -0.7
ตะวันออก 435,085 469,872 -13.3 8.0
ตะวันตก 152,363 156,223 -6.5 2.5
กลาง 263,430 277,952 -3.8 5.5
กทม. และปริมณฑล 437,059 438,760 -8.0 0.4
เฉลี่ยทั้งประเทศ 225,311 231,986 -7.5 3.0
รายงานประจำาปี 2566 | สำานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | 105